กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางโกระ


“ โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ”

ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนงเยาว์ ทองมามุณี

ชื่อโครงการ โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66 - 2982 - 2 - 6 เลขที่ข้อตกลง 8/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางโกระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66 - 2982 - 2 - 6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,151.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางโกระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น 4 ด้าน คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้านนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ สมบูรณ์แข็งแรงได้ แต่การที่จะทำให้ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน นั้นเป็นเรื่องยากเพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ ในอดีตการสาธารณสุขของไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าในปัจจุบัน ประชาชนมักเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของ เชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัสที่มากระทำต่อร่างกาย เช่น ไข้หวัด อุจจาระร่วง เป็นต้น แต่ปัจจุบันเมื่อการสาธารณสุขเจริญก้าวหน้า ขึ้น รวมทั้งวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปโรคที่เกิดขึ้นกับประชาชน จึงกลายเป็นโรคที่เกิดจากการไม่ดูแลพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อุบัติเหตุ ฯลฯ อีกทั้งยังมีโรคติดต่อที่กลับมาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอีก เช่น โรค วัณโรค เป็นต้น และ ที่สำคัญยังมีโรคติดต่อที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาสร้างปัญหา และเป็นภัยต่อสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นอีก คือโรคโควิค19 โรคเอดส์ โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ เป็นต้น การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวทุกฝ่ายต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้องสร้างการรับรู้ด้านสุขภาพให้เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อให้ชาวบ้านสามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ การบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง มีความเข้าใจถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพและการเข้ารับการบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) เป็นทักษะต่างๆทางการรับรู้และทางสังคมซึ่งเป็นตัวกำหนดแรงจูงใจและความสามารถของปัจเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึง เข้าใจและการใช้ข้อมูลในวิธีการต่างๆเพื่อส่งเสริมและบำรุงรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ เป็นทักษะที่มีความจำเป็นสำหรับบุคคลในการดูแลสุขภาพของตนเอง เป็นผลลัพธ์ขั้นสูงของกระบวนการทางสุขศึกษาร่วมกับการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี
        การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพให้อยู่ในระดับสูง ช่วยเพิ่มทักษะชีวิต ส่งผลเกื้อหนุนสุขภาพของปัจเจกบุคคลและชุมชน อาจกล่าวได้ว่าการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นวิธีการหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางโกระ จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะจัดให้มีโครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนเกิดการรับรู้และมีความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับ การดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มี การดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ข้อที่ 3. เพื่อให้อสม.นำความรู้ที่ได้รับไปแนะนำแก่ประชาชน ในเขตที่ตนเองรับผิดชอบได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ
  2. โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง มีความรู้เท่าทันข้อมูลด้านสุขภาพในปัจจุบัน
  2. ประชาชนมีความรอบรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง
  3. ประชาชน มีการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพขั้นพื้นที่ฐาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

วันที่ 27 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมทีมงานและคณะกรรมการพัฒนา รพสต. 2. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชากรในพื้นที่ทั้งก่อนและหลัง ตลอดจนแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3.ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพเชิงรุกพื้นที่ก่อนดำเนินกิจกรรมเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการรับรู้ปัญหา ระดับของปัญหาและกำหนดรูปแบบในการจัดกิจกรรมและการจัดทำสื่อสุขภาพเพื่อสื่อสารและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4. ให้ความรู้การสื่อสารสุขภาพแก่ประชาชน 5. จัดกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพผ่านสื่อช่องทางต่างๆและพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและรู้เท่าทันสื่อ 6. สร้างสื่อวารสารเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเป็นคู่มือในการสร้างกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขในการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 7. สร้างสื่อโปสเตอร์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเป็นคู่มือในการสร้างกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขในการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 8. สร้างสื่อแผ่นพับเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเป็นคู่มือในการสร้างกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขในการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 9. ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพเชิงรุกพื้นที่หลังดำเนินกิจกรรมเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการรับรู้ปัญหา ระดับของปัญหาและกำหนดรูปแบบในการจัดกิจกรรมและการจัดทำสื่อสุขภาพเพื่อสื่อสารและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3. ขั้นตอนสรุปผล  ถอดบทเรียน
– สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเป็นรูปเล่มเพื่อนำส่งองค์การบริหารส่วนตำบลบางโกระ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่ได้รับ 1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง มีความรู้เท่าทันข้อมูลด้านสุขภาพในปัจจุบัน 2. ประชาชนมีความรอบรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง
3. ประชาชน มีการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพขั้นพื้นที่ฐาน

 

0 0

2. โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. ประชาคม/ประชุมแกนนำชุมชนร่วมกับ อสม.ทั้งหมดเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและร่วมหาแนวทางแก้ไข 2. ร่วมกำหนดวิสัยทัศน์และทิศทางในการแก้ไขและพัฒนางานเพื่อนำมาสู่การร่างโครงการ 3. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบางโกระ 4. แต่งตั้งทีมเครือข่ายการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อ 5. มอบหมายงาน แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ 1.ประชุมทีมงานและคณะกรรมการพัฒนา รพสต. 2. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับประชากรในพื้นที่ทั้งก่อนและหลัง ตลอดจนแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3.ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพเชิงรุกพื้นที่ก่อนดำเนินกิจกรรมเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการรับรู้ปัญหา ระดับของปัญหาและกำหนดรูปแบบในการจัดกิจกรรมและการจัดทำสื่อสุขภาพเพื่อสื่อสารและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 4. ให้ความรู้การสื่อสารสุขภาพแก่ประชาชน 5. จัดกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพผ่านสื่อช่องทางต่างๆและพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือและรู้เท่าทันสื่อ 6. สร้างสื่อวารสารเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเป็นคู่มือในการสร้างกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขในการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 7. สร้างสื่อโปสเตอร์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเป็นคู่มือในการสร้างกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขในการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 8. สร้างสื่อแผ่นพับเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และเป็นคู่มือในการสร้างกิจกรรมสื่อสารความรู้ด้านสุขภาพสำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขในการสื่อสารด้านสุขภาพให้กับประชาชนเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 9. ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพเชิงรุกพื้นที่หลังดำเนินกิจกรรมเพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการรับรู้ปัญหา ระดับของปัญหาและกำหนดรูปแบบในการจัดกิจกรรมและการจัดทำสื่อสุขภาพเพื่อสื่อสารและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3. ขั้นตอนสรุปผล  ถอดบทเรียน
– สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเป็นรูปเล่มเพื่อนำส่งองค์การบริหารส่วนตำบลบางโกระ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง มีความรู้เท่าทันข้อมูลด้านสุขภาพในปัจจุบัน 2. ประชาชนมีความรอบรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง มีการรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่ถูกต้อง
3. ประชาชน มีการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพขั้นพื้นที่ฐาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับ การดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มี การดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ข้อที่ 3. เพื่อให้อสม.นำความรู้ที่ได้รับไปแนะนำแก่ประชาชน ในเขตที่ตนเองรับผิดชอบได้
ตัวชี้วัด : - ประชาน มีความรู้และผ่านเกณฑ์การประเมิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ - ประชาชน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพได้ถูกต้องไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๗๐ - อสม.สำรวจข้อมูลบุคคลในครอบครัวสำหรับขึ้นทะเบียนเป็น อสค.ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับ การดูแลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ข้อที่ 2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มี การดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ข้อที่ 3. เพื่อให้อสม.นำความรู้ที่ได้รับไปแนะนำแก่ประชาชน ในเขตที่ตนเองรับผิดชอบได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (2) โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสื่อสารสุขภาพเพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66 - 2982 - 2 - 6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนงเยาว์ ทองมามุณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด