กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา


“ โครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข” ”

ตาดีกาลังฆารีย์ หมู่ที่๒ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายฮีลมี อับดุลรอนิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”

ที่อยู่ ตาดีกาลังฆารีย์ หมู่ที่๒ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3005-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 25 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตาดีกาลังฆารีย์ หมู่ที่๒ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข” " ดำเนินการในพื้นที่ ตาดีกาลังฆารีย์ หมู่ที่๒ ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3005-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กุมภาพันธ์ 2566 - 25 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,135.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะนักเทคนิคการแพทย์ ได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างสำคัญ ในการรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ มุ่งให้มีการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เนื่องจากการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ ของสมาชิกในครอบครัว และของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย ที่มีสาเหตุแห่งความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้ความสำคัญและสนับสนุนการควบคุมการบริโภคยาสูบ หรือการเลิกสูบบุหรี่มาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มี “วันงดสูบบุหรี่โลก” (World No Tobacco Day) ขึ้นใน วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 เป็นต้นมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา องค์การอนามัยโลกได้มุ่งเน้นให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคยาสูบ โดยสนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขทุกสาขาอาชีพ ร่วมมือกันก่อตั้ง “เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่” อันประกอบไปด้วย 7 สาขาวิชาชีพ ในระยะแรก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข เภสัชกร เทคนิคการแพทย์ กายภาพบำบัด ซึ่งต่อมาเครือข่ายฯ ได้ขยายออกไปเป็น 17 วิชาชีพ ที่เพิ่มมาอีก 10 วิชาชีพ ได้แก่ หมออนามัย จิตวิทยาคลินิก แพทย์แผนจีน แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์ รังสีเทคนิค เวชนิทัศน์ สัตวแพทย์ เวชศาสตร์การกีฬา และศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ โดยมีเป้าหมายในการร่วมมือกันรณรงค์ต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ จัดกิจกรรมควบคุมการบริโภคยาสูบ และรณรงค์การลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ เพื่อให้การต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่ มีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง ผลสัมฤทธิ์ และนำไปสู่เป้าหมาย “สังคมไทยปลอดบุหรี่” ได้ในที่สุด จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่า แต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ประมาณ 5 ล้านคน ซึ่งเทียบเท่ากับเดือนละเกือบ 11,000 คน หรือวันละ 8 คน และในบุหรี่มีสารเคมี 4,000 กว่าชนิด เช่น formaldehyde (สารเคมีที่ใช้ดองศพ) carbon monoxide (เช่นเดียวกับควันจากท่อไอเสียเครื่องยนต์) สาร acetone (สารเคมีที่ใช้ล้างเล็บ) ซึ่งสารเหล่านี้ ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุภาพทั้งต่อผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็ก ก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทางโรคค่อนข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้ นอกจากนั้น งานวิจัยยังพบว่า ในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิต จากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ปีละ 52,000 คน หรือชั่วโมงละ 6 คน และผู้ที่ติดบุหรี่ส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เริ่มสูบและติดบุหรี่ ตั้งแต่ยังอยู่ในวัยรุ่น ในช่วงอายุ 11-18 ปี โดยยังสูบต่อเนื่องไปจนอยู่ในวัยเยาวชน ในช่วงอายุ 19-25 ปี และผู้ใหญ่ตอนต้น ในช่วงอายุ 25-35 ปี ซึ่งกลุ่มเยาวชนลังฆารีย์ หมู่ที่2 ตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี ในฐานะที่มีความใกล้ชิดกับเยาวชนมากที่สุด ได้เห็นถึงความสำคัญในการจัดกิจกรรมจากการสำรวจประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ผ่านระบบข้อมูล TCNAP พบว่า ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านลางา มีเด็กและเยาวชนที่มีความเสี่ยงต่อภัยของบุหรี่ประมาณ 89 ที่มีครอบครัวและคนใกล้ชิดผู้สูบบุหรี่ กลุ่มเยาวชนลังฆารีย์ จึงได้จัดทำ “โครงการ ส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข” เพื่อให้เด็ก เยาวชน ห่างไกลจากการสูบบุหรี่ และรณรงค์ให้ผู้ที่กำลังสูบ ลด ละ เลิกสูบบุหรี่ เนื่องจากการสูบบุหรี่นั้นเป็นอันตรายต่อผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่ใกล้กับผู้สูบบุหรี่ทั้งยังเป็นสาเหตุที่จะนำไปสู่การติดสิ่งเสพติดอื่นๆได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนร่วมถึงวัยทำงาน
  2. 2. เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
  3. 3. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการรักสุขภาพและคนในครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ชุมชนปลอดบุหรี่
  2. กิจกรรมที่ 2 สายใยรักครอบครัว คนสามวัย
  3. กิจกรรมที่ 3 ครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่
  4. กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมเดินประชาสัมพันธ์การต่อต้านการสูบบุหรี่
  5. สรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 5
กลุ่มผู้สูงอายุ 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้างเอื้อต่อการพูดคุย
  2. เยาวชนสามารถปรับแนวคิดทัศนะคติไปในระดับหนึ่ง
  3. เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น
  4. เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ
  5. เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 ชุมชนปลอดบุหรี่

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 แต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 1๕ คน 1.2 จัดประชุมคณะทำงาน 1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ 1.4 นำเสนอแลกเปลี่ยน วิเคราะห์ 1.5 จัดทำแผนการดำเนินงานบูรณาการร่วมกัน 1.6 จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง พร้อมประชุมแลกเปลี่ยนก่อนและหลังการดำเนินงาน จำนวน ๑ ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนสามารถปรับแนวคิดทัศนะคติไปในระดับหนึ่ง

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 สายใยรักครอบครัว คนสามวัย

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมกลุ่มและอบรม เรื่องพิษภัยบุหรี่ การดูแลคนในครอบครัวสร้างสานสัมพันธ์ให้กำลังใจกันและกัน มีส่วนร่วมในการให้เด็กและเยาวชนเลิกบุหรี่ ผ่านการจัดกระบวนการกลุ่ม และทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างพ่อแม่และลูกจำนวน ๘๐ คน เช่น กอด บอกรัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้างเอื้อต่อการพูดคุย เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 ครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน แสดงความจำนงในเอกสาร พร้อมจัดกิจกรรมเพื่อประกาศตนเลิกบุหรี่ และมีการเล่าประสบการณ์ วิธีการและกลวิธีงด ละ เลิกบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมเดินประชาสัมพันธ์การต่อต้านการสูบบุหรี่

วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมสถานที่ราชการ ปลูกจิตสำนึก ประชาสัมพันธ์ข้อตกลงในการขอใช้สถานที่ มีการ่วมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น ทำความสะอาดมัสยิด กวาดขยะ ส่งเสริมด้วยหลักศสานาเป็นประจำทุกเดือนติดต่อกัน 4 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้าง เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

 

0 0

5. สรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 ชุมชนปลอดบุหรี่ 1.1 แต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 1๕ คน 1.2 จัดประชุมคณะทำงาน 1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ 1.4 นำเสนอแลกเปลี่ยน วิเคราะห์ 1.5 จัดทำแผนการดำเนินงานบูรณาการร่วมกัน 1.6 จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง พร้อมประชุมแลกเปลี่ยนก่อนและหลังการดำเนินงาน จำนวน ๑ ครั้ง กิจกรรมที่ 2 สายใยรักครอบครัว คนสามวัย         กิจกรรมกลุ่มและอบรม เรื่องพิษภัยบุหรี่ การดูแลคนในครอบครัวสร้างสานสัมพันธ์ให้กำลังใจกันและกัน มีส่วนร่วมในการให้เด็กและเยาวชนเลิกบุหรี่ ผ่านการจัดกระบวนการกลุ่ม และทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างพ่อแม่และลูกจำนวน ๘๐ คน เช่น กอด บอกรัก และมอบดอกไม้ กิจกรรมที่ 3 ครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมจำนวน 80 คน แสดงความจำนงในเอกสาร พร้อมจัดกิจกรรมเพื่อประกาศตนเลิกบุหรี่ และมีการเล่าประสบการณ์ วิธีการและกลวิธีงด ละ เลิกบุหรี่ ซึ่งมีกำหนด 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน สามารถ เลิกได้ถาวร มีการประกาศหรือปฏิญาณตน พร้อมรับมอบเกียรติบัตรการตั้งใจเลิกบุหรี่ พร้อมมีการให้คำปรึกษาการเลิกบุหรี่ วิธีการเลิกบุหรี่ เช่น ใช้การนวดกดจุดร่วมกับ ผู้เชี่ยวชาญของ จนท.รพ. มายอ และติดตามและประเมินผล กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมเดินประชาสัมพันธ์การต่อต้านการสูบบุหรี่ ส่งเสริมสถานที่ราชการ ปลูกจิตสำนึก ประชาสัมพันธ์ข้อตกลงในการขอใช้สถานที่ มีการ่วมบำเพ็ญประโยชน์ เช่น ทำความสะอาดมัสยิด กวาดขยะ ส่งเสริมด้วยหลักศสานาเป็นประจำทุกเดือนติดต่อกัน 4 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดสภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมรอบๆข้างเอื้อต่อการพูดคุย
  2. เยาวชนสามารถปรับแนวคิดทัศนะคติไปในระดับหนึ่ง
  3. เยาชนเป็นต้นแบบชีวิตในด้านการพัฒนาเพิ่มขึ้น
  4. เกิดความรักสามัคคีในหมู่คณะ
  5. เกิดบุคคลต้นแบบที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ด้วยกลุ่มเยาวชนลังฆารีย์ ได้จัดทำโครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”  ระหว่างวันที่ ที่ 2๕ กุมภาพันธ์ – ๒๘ เมษายน 256๖ เพื่อให้ประชาชนในตำบลลางามีจิตสำนึกในการดูแลสุขภาพของตัวเองและคนในครอบครัวตระหนักถึงโทษและพิษภัยของบุหรี่ โดยเฉพาะครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่ได้ทำให้ประชาชนเกิดความประทับใจเห็นความสำคัญกับการลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุขมากยิ่งขึ้น อีกทั้งได้มีการประชาสัมพันธ์เพื่อให้คนในชุมชนที่อาศัยอยู่ให้เป็นแบบอย่างในชุมชนปลอดบุหรี่ต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนร่วมถึงวัยทำงาน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเนื้อหาที่ได้อบรม
7.00 0.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 20 ผู้เข้าร่วมลดการได้รับควันบุหรี่มือสองลง
7.00 0.00

 

3 3. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการรักสุขภาพและคนในครอบครัว
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมมีเวลาว่างในการกิจกรรมร่วมกัน และเห็นการเปลี่ยนแปลงของชุมชนนำไปสู่ความสงบสุขในชุมชนนั้นๆ
7.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน 5 5
กลุ่มผู้สูงอายุ 5 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนร่วมถึงวัยทำงาน (2) 2. เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน (3) 3. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการรักสุขภาพและคนในครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ชุมชนปลอดบุหรี่ (2) กิจกรรมที่ 2 สายใยรักครอบครัว คนสามวัย (3) กิจกรรมที่ 3 ครอบครัวต้นแบบเลิกบุหรี่ (4) กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมเดินประชาสัมพันธ์การต่อต้านการสูบบุหรี่ (5) สรุปและรายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมปลุกพลังชุมชน “ลดพื้นที่สูบ เพิ่มพื้นที่สุข” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3005-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮีลมี อับดุลรอนิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด