ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีนา อาแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3005-02-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3005-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 500 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับสามในเพศชาย และเป็นอันดับสี่ในเพศ หญิง โดยในแต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงประมาณ 3,000 ราย โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่สามารถทำการตรวจหาได้ ตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก ซึ่งสามารถทำการรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษามะเร็งในระยะ ลุกลาม นอกจากนี้ยังสามารถตรวจพบในระยะที่ยังไม่เป็นมะเร็งคือ Adenomas ซึ่งเมื่อทำการรักษาโดยการ ตัดทิ้งแล้วจะสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีนโยบายสนับสนุนให้ประชาชนอายุ 50 -70 ปี และผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอัตราการป่วยสูงได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและเพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงในระยะลุกลาม การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเบื้องต้น สามารถตรวจโดยการตรวจเม็ดเลือดแดงแฝงในอุจจำระ ด้วยวิธีFecal Immunochemical Test (FIT) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเนื่องจากขั้นตอนในการเตรียม ตัวไม่ยุ่งยากซับซ้อน และสามารถทำการตรวจคัดกรองได้ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ชมรมแกนนำสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีอัล-อิสลามลางาได้เล็งเห็นถึงปัญหาและความสำคัญของการป้องกันโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง จึงร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา เสนอโครงการตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงให้กับประชาชนที่มีออายุ 50-70 ปีขึ้นไป และผู้มีปัจจัยเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และประชาชนตำบลลางา มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test และเพื่อให้ประชาชน อายุ50-70 ปี หรือผู้มีปัจจัยเสี่ยงได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และส่งต่อในรายที่พบผลผิดปกติเพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ในระยะลุกลามต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
- เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง
- เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ
- เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานและเครือข่ายในพื้นที่
- กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง มีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
2. ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงเมื่อตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
3.ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test ผลเป็น บวก (Positive) ได้รับการส่งต่อทุกราย
4.สามารถลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลลางา อย่างน้อยร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
90.00
90.00
2
เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ด้วยการสุ่มอย่างง่าย ของประชาชนอายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ตำบลลางา ได้รับการตรวจภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี Fit Test
50.00
50.00
3
เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit TestPositive ได้รับการส่งต่อทุกราย
70.00
70.00
4
เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
ตัวชี้วัด : ประชาชนทีตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงที่มีผลผิดปกติได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ไม่เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ระยะลุกลาม
90.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
500
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test (2) เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง (3) เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ (4) เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานและเครือข่ายในพื้นที่ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3005-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอารีนา อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีนา อาแว
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3005-02-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา
บทคัดย่อ
โครงการ " ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3005-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 500 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับสามในเพศชาย และเป็นอันดับสี่ในเพศ หญิง โดยในแต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงประมาณ 3,000 ราย โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นโรคมะเร็งที่สามารถทำการตรวจหาได้ ตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก ซึ่งสามารถทำการรักษาให้หายได้และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษามะเร็งในระยะ ลุกลาม นอกจากนี้ยังสามารถตรวจพบในระยะที่ยังไม่เป็นมะเร็งคือ Adenomas ซึ่งเมื่อทำการรักษาโดยการ ตัดทิ้งแล้วจะสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีนโยบายสนับสนุนให้ประชาชนอายุ 50 -70 ปี และผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอัตราการป่วยสูงได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและเพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงในระยะลุกลาม การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเบื้องต้น สามารถตรวจโดยการตรวจเม็ดเลือดแดงแฝงในอุจจำระ ด้วยวิธีFecal Immunochemical Test (FIT) ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเนื่องจากขั้นตอนในการเตรียม ตัวไม่ยุ่งยากซับซ้อน และสามารถทำการตรวจคัดกรองได้ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ชมรมแกนนำสร้างเสริมสุขภาพตามวิถีอัล-อิสลามลางาได้เล็งเห็นถึงปัญหาและความสำคัญของการป้องกันโดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง จึงร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา เสนอโครงการตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงให้กับประชาชนที่มีออายุ 50-70 ปีขึ้นไป และผู้มีปัจจัยเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และประชาชนตำบลลางา มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test และเพื่อให้ประชาชน อายุ50-70 ปี หรือผู้มีปัจจัยเสี่ยงได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และส่งต่อในรายที่พบผลผิดปกติเพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ในระยะลุกลามต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
- เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง
- เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ
- เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมทีมงานและเครือข่ายในพื้นที่
- กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง มีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test 2. ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงเมื่อตรวจพบความผิดปกติได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก 3.ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test ผลเป็น บวก (Positive) ได้รับการส่งต่อทุกราย 4.สามารถลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test ตัวชี้วัด : คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลลางา อย่างน้อยร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test |
90.00 | 90.00 |
|
|
2 | เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ด้วยการสุ่มอย่างง่าย ของประชาชนอายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ตำบลลางา ได้รับการตรวจภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี Fit Test |
50.00 | 50.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ ตัวชี้วัด : ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit TestPositive ได้รับการส่งต่อทุกราย |
70.00 | 70.00 |
|
|
4 | เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม ตัวชี้วัด : ประชาชนทีตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงที่มีผลผิดปกติได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ไม่เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ระยะลุกลาม |
90.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 500 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test (2) เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง (3) เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ (4) เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานและเครือข่ายในพื้นที่ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ใหญ่ตรงในกลุ่มเสี่ยงตำบลลางา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L3005-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอารีนา อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......