กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา


“ โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางฟาฎีลาห์ ปอโต๊ะซิ

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3005-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L3005-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเตรียมความพร้อมของสตรีระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด ไปจนเด็กอายุ 2 ปี จะเป็นตัวกำหนดสุขภาพและโรคในอนาคตได้ จึงต้องให้ความสำคัญกับโภชนาการที่ดี ตั้งแต่ 1,000 วันแรกของชีวิต ร่วมกับการมีสุขาภิบาลที่ดี มีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง การดูแลสุขภาพช่องปาก การกอด การเล่น การนอน การอ่าน การเล่านิทาน เป็นผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพสูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ ระดับเชาวน์ปัญญา พัฒนาการเรียนรู้ การเข้าสังคม จึงเป็นโอกาสทองในการพัฒนาเด็กให้สุขภาพและศักยภาพที่ดีในอนาคตและเป็นการสร้างมนุษย์ที่สมบูรณ์ ในการก้าวสู่ประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนการตั้งครรภ์เป็นระยะที่มีการสร้างเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆเกิดขึ้นมากว่าปกติ เพราะอัตราการเติบโตของทารกในครรภ์สูงกว่าระยะอื่นๆของชีวิต ความต้องการสารอาหารและพลังงานระหว่างตั้งครรภ์จึงมีมากกว่าระยะอื่นๆ ถ้ามารดาได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ในปริมาณที่เพียงพอ มารดาจะมีสุขภาพสมบูรณ์และให้กำเนิดทารกที่แข็งแรง ในทางตรงกันข้าม ถ้ามารดารับประทานอาหาร ที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เพียงพอมักทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง เด็กคลอดก่อนกำหนดหรือแท้ง โลหิตเป็นพิษขณะตั้งครรภ์ เด็กเกิดใหม่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อย ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการทั้งด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กต่อไปในอนาคต ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงรับนโยบายและขับเคลื่อนนโยบายมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ในพื้นที่ตำบลลางา โดยเริ่มจากการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายมารดาและทารกในพื้นที่ตำบลลางา จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า ข้อมูลร้อยละของทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.ลางา ปีงบประมาณ จำนวนทารกแรกเกิด(คน) จำนวนทารกแรกเกิดที่น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 2562 10254.90 2563 10132.97 25647245.56 25658722.29 25669244.3 จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด มีภาวะโภชนาการที่ดีส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อันจะส่งผลให้ทารกแรกเกิดมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีพัฒนาการสมวัยซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความพร้อมในการตั้งครรภ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์
  2. 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
  3. 3. หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นปกติตามเกณฑ์
  4. 4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์
  5. 5. เพื่อให้เกิดเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน
  6. 6 . หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานอนามัยแม่และเด็กเชิงรุก หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและน้ำหนักตัวน้อย BMI ต่ำกว่าเกณฑ์ และหญิงหลังคลอด เพื่อขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500วัน ปี 2567แก่เจ้าหน้าที่และอสม. จำนวน 66 คน
  2. เตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธ์ในการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ
  3. หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวได้รับความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
  4. ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์
  5. การติดตามเยี่ยมหลังคลอด 100 ราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 205
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการที่ดี 2.ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์ 3.หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลด้านโภชนาการในตนเองและทารก 4. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความพร้อมในการตั้งครรภ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : 1.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ 2.หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ในการดูแลตัวเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00 1.00

 

2 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวได้รับการอบรมตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ครบ ร้อยละ 100 2.แบบทดสอบก่อนหลังอบรมให้ความรู้ ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
1.00 1.00

 

3 3. หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นปกติตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 2.เกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 10
1.00 1.00

 

4 4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 1.ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 10
1.00 1.00

 

5 5. เพื่อให้เกิดเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และสามารถช่วยแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน 2.แบบทดสอบความรู้ ก่อน หลังการอบรม
1.00 1.00

 

6 6 . หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 1.ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด ร้อยละ 100 2.ได้รับการส่งเสริมสุขภาพหลังคลอด ร้อยละ 100
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 205
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 205
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หญิงวัยเจริญพันธ์มีความพร้อมในการตั้งครรภ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ (2) 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ (3) 3. หญิงตั้งครรภ์มีน้ำหนักขึ้นปกติตามเกณฑ์ (4) 4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักผ่านเกณฑ์ (5) 5. เพื่อให้เกิดเครือข่ายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในชุมชน (6) 6 . หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมตามเกณฑ์และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานอนามัยแม่และเด็กเชิงรุก หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและน้ำหนักตัวน้อย BMI ต่ำกว่าเกณฑ์ และหญิงหลังคลอด เพื่อขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500วัน ปี 2567แก่เจ้าหน้าที่และอสม. จำนวน 66 คน (2) เตรียมความพร้อมหญิงวัยเจริญพันธ์ในการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ (3) หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวได้รับความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ (4) ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ (5) การติดตามเยี่ยมหลังคลอด 100 ราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการมารดาและทารกเชิงรุก สู่โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน พลัส สู่ 2,500 วัน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3005-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฟาฎีลาห์ ปอโต๊ะซิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด