กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2566 ”

ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ ยี่โส

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3325-02-3 เลขที่ข้อตกลง 9/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2566



บทคัดย่อ

ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเนื่องจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาใหญ่และรุนแรงมากของสังคมไทย ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสังคมไทยยังขาดความตระหนักร่วมกันอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผลกระทบต่อเกษตรกรและประชาชนทั่วไป สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น เขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ นา , สวนยางพารา สวนผลไม้ และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงขึ้น ดังนั้น กลุ่ม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ ม.4,6,8,9 ต.มะกอกเหนือ จึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ม.4,6,8,9 ต.มะกอกเหนือ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไปโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และการป้องกันตนเองที่ ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (2) เพื่อประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพผู้เสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจักศัตรูพืช (4) เพื่อตรวจสุขภาพ รักษาพยาบาลและขับพิษสารเคมีออกจากร่างกายของเกษตรกร ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รพ.สต. ,อสม.แกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ (2) ชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ (3) ตรวจหาสารเคมีและจัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรและรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษ (4) ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่ 2 และประเมินผลสุขภาพรอบที่ 2 (5) ประสานงานสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อส่งต่อรักษา (6) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเนื่องจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาใหญ่และรุนแรงมากของสังคมไทย ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสังคมไทยยังขาดความตระหนักร่วมกันอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผลกระทบต่อเกษตรกรและประชาชนทั่วไป สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น
เขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ นา , สวนยางพารา สวนผลไม้ และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงขึ้น ดังนั้น กลุ่ม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ ม.4,6,8,9 ต.มะกอกเหนือ จึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ม.4,6,8,9 ต.มะกอกเหนือ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และการป้องกันตนเองที่ ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  2. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพผู้เสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจักศัตรูพืช
  4. เพื่อตรวจสุขภาพ รักษาพยาบาลและขับพิษสารเคมีออกจากร่างกายของเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รพ.สต. ,อสม.แกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
  3. ตรวจหาสารเคมีและจัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรและรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษ
  4. ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่ 2 และประเมินผลสุขภาพรอบที่ 2
  5. ประสานงานสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อส่งต่อรักษา
  6. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ทราบถึงพิษภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
3.ประชากรกลุ่มเสี่ยง ได้รับการบำบัดรักษาที่ถูกต้องและสามารถป้องกันตนเองในการป้องกันไม่ให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายจนเป็นอันตราย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รพ.สต. ,อสม.แกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ

วันที่ 3 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รพ.สต. ,อสม.แกนนำผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 10 คน เพื่อชี้แจงโครงการและกิจกรรมต่างๆของโครงการ ตามรายละเอียดดังนี้
1.มอบหมายหน้าที่
2.ประสานงานเพื่อจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
3.จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรม
ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เเกนนำขับเคลื่อนโครงการ 10 คน คนที่เข้าร่วมประชุมเข้าใจรายละเอียดโครงการ
ได้วัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการดำเนินกิจกรรม

 

0 0

2. ชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงกิจกรรมการดำเนินงานแก่กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับทราบถึงกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้เกษตรกร

วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรจำนวน  50 คน เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเองในครัวเรือนและตรวจสารเคมีในเลือดได้โดยมีวิทยากรจากนักเทคนิคการแพทย์ในเวลาอบรมครึ่งวัน จัดที่เทศบาลตำบลบ้านสวน รสยละเอียดกิจกรรม 1.ตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดแก่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 50 คน พร้อมทั้งแจ้งผลการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
2.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมี และการปลูกผักปลอดสารพิษ
3.แจกพันธุ์ผักสวนครัว ผักบุ้ง ผักกาก คะน้า พร้อมถุงปลูกและปุ๋ย 4.แจกยาชงสมุนไพรรางจืดแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีผลตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในระดับที่ไม่ปลอดภัย มีค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ 1.ค่าจัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ จำนวน ๑ ป้าย ขนาด 1.2 x 2.8 เมตร เป็นเงิน500 บาท 2.ชุดตรวจสารเคมีในเลือด จำนวน 2 ชุด ชุดละ 3,000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 3.ค่าวิทยากรให้ความรู้ 3 ชมๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม การตรวจหาสารเคมีครั้งที่ 1 (สำหรับผู้เข้าอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่) 55 คนๆละ 25 บาท รวม 1 มื้อ เป็นเงิน 1,375 บาท 5.ค่าอาหารกลางวัน การตรวจหาสารเคมีครั้งที่ 1 (สำหรับผู้เข้าอบรม วิทยากรและเจ้าหน้าที่) 55 คนๆละ 50 บาท รวม 1 มื้อ เป็นเงิน 2,750 บาท 5.ค่าเอกสารความรู้-ความเข้าใจ การใช้สารเคมีก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ 50 ชุด เป็นเงิน 100 บาท 6.ค่าอุปกรณ์การปลูกผักและเมล็ดพันธ์พืช
6.1 เมล็ดคะน้า 30 กระป๋อง เมล็ดกวางตุ้ง 30 กระป๋อง เมล็ดผักกาดขาว 30 กระป๋อง ราคากระป๋องละ 35 บาท เป็นเงิน 3,150 บาท 6.2 ถุงปลูกผัก ขนาด 8*15 นิ้ว (32ใบ/1 กิโลกรัม) จำนวน 6 แพ็คๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 6.3 ดินปลูกผัก จำนวน 120 ถุง ราคาถุงละ 20 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 7.ค่าเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจจำนวน 40 ใบ เป็นเงิน 40 บาท รวมจำนวน 19,615 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดจำนวน 50 คน กล 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมี และการปลูกผักปลอดสารพิษ
3.กลุ่มเป้าหมายได้รับพันธุ์ผักไปลูก
4.กลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจเลือดในระดับที่ไม่ปลอดภัยได้รับยารางจืดไปรับประทานจำนวน 5 วัน

 

0 0

4. ประสานงานสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อส่งต่อรักษา

วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานโรงพยาบาลควนขนุนเพื่อรับรางจืดให้กลุ่มเป้าหมายที่่ ที่มีผลการตรวจสุขภาพที่ไม่ปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการตรวจสารเคมีในเลือดครั้งที่ 1 มีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือด ไม่ปลอดภัย จำนวน 25 คน ได้รับยาชงรางจืด
ผลการตรวจสารเคมีในเลือดครั้งที่ 2 มีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือด ไม่ปลอดภัย จำนวน 1 คน ได้รับยาชงรางจืด

 

0 0

5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลโครงการหลังเข้าร่วมกิจกรรม ประเมินการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจร้อยละ 90 และผลจากการร่วมโครงการทำให้กลุ่มเป้าหมายมีผลการตรวจสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับที่ดีขึ้น ร้อยละ 98

 

0 0

6. ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่ 2 และประเมินผลสุขภาพรอบที่ 2

วันที่ 21 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่ 2 โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการตรวจสารเคมีในเลือด จำนวน 50 คน ปลอดภัย จำนวน 38 คน เสี่ยง จำนวน 11 คน ไม่ปลอดภัย (กินยา) จำนวน 1 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และการป้องกันตนเองที่ ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และการป้องกันตนเองที่ ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ร้อยละ 80
0.00 0.00 80.00

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และการป้องกันตนเองที่ ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

2 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพผู้เสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้รับการประเมินและเฝ้าระวังทางด้านสุขภาพ
0.00 0.00 100.00

ร้อยละ 100 ของผู้เสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้รับการประเมินและเฝ้าระวังทางด้านสุขภาพ

3 เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจักศัตรูพืช
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

ประชาขนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด

4 เพื่อตรวจสุขภาพ รักษาพยาบาลและขับพิษสารเคมีออกจากร่างกายของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพรักษาพยาบาลและขับพิษสารเคมีออกจากร่างกาย
0.00 98.00

ร้อยละ 98 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพรักษาพยาบาลและขับพิษสารเคมีออกจากร่างกาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นเนื่องจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาใหญ่และรุนแรงมากของสังคมไทย ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสังคมไทยยังขาดความตระหนักร่วมกันอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผลกระทบต่อเกษตรกรและประชาชนทั่วไป สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์และสัตว์ คือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น เขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ นา , สวนยางพารา สวนผลไม้ และปลูกผักสวนครัว ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงขึ้น ดังนั้น กลุ่ม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในพื้นที่ ม.4,6,8,9 ต.มะกอกเหนือ จึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ม.4,6,8,9 ต.มะกอกเหนือ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไปโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้สารเคมี และการป้องกันตนเองที่ ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (2) เพื่อประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพผู้เสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) เพื่อค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจักศัตรูพืช (4) เพื่อตรวจสุขภาพ รักษาพยาบาลและขับพิษสารเคมีออกจากร่างกายของเกษตรกร ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานโครงการ ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่รพ.สต. ,อสม.แกนนำผู้รับผิดชอบโครงการ (2) ชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเสี่ยงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ (3) ตรวจหาสารเคมีและจัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรและรณรงค์ปลูกผักปลอดสารพิษ (4) ตรวจหาสารเคมีแก่เกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมี ครั้งที่ 2 และประเมินผลสุขภาพรอบที่ 2 (5) ประสานงานสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อส่งต่อรักษา (6) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการบางคนไม่มีบริเวณสำหรับปลูกผัก แนะนำปลูกผักแบบกระถางหรือถุงชำ 2.พฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมายยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ ด้วยบริบทของพื้นที่ และการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้ยังต้องบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย เพราะอาหารบางอย่างที่เราบริโภคไม่สามารถที่จะตรวจสอบได้ทั้งหมด ข้อเสนอแนะ เนื่องจากทางโครงการ มีการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี โทษของสารเคมี และมีการตรวจคัดกรองหาสารตกค้างในกระแสเลือด 2 ครั้ง แต่ไม่ได้มีการติดตามต่อเนื่องเกี่ยวกับการใช้สารเคมียาฆ่าแมลงที่บ้าน โครงการนี้สมควรที่จะดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และติดตามภาวะสุขภาพของคนในชุมชน

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2566

รหัสโครงการ 66-L3325-02-3 รหัสสัญญา 9/2566 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวในชีวิตประจำวันเพื่อที่จะลดโอกาสในการรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

ค้นหากลุ่มเป้าหมายในชุมชนที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ได้เรียนรู้กระบวนการในการดำเนินงานโครงการ และขั้นตอนต่างๆ

ภาพกิจกรรมโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ได้เรียนรู้กระบวนการในการทำงานวิธีการดำเนินงานและทักษะจากการทำสรุปรูปเล่มโครงการ

รูปเล่มรายงาน

เขียนโครงการเพื่อดำเนินการต่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

จากการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรเรื่องการใช้สารเคมี และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ทำให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัย

แบบสำรวจพฤติกรรมการบริโภคและการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ทำให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

ภาพถ่ายการปลูกผักบริเวณบ้านของกลุ่มเป้าหมาย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

บุคคลแต่ละครอบครัว คนในชุมชนจะเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

แบบสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีการเลิกใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช เพราะสิ่งเหล่านั้นส่งผลสุขภาพของคนที่ใช้

แบบประเมิน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้สึกภูมิใจที่ผลการตรวจสารเคมีในเลือดของเขาอยู่ในระดับที่ปลอดภัย

ผลการตรวจสารเคมีในเลือด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการตระหนักในการดูแลสุขภาพมากขึ้นและชอบการใช้ชีวิตที่พอเพียง มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

ภาพถ่ายการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

บ้านใกล้เรือนเคียงมีการแบ่งปันผักบริโภคในครัวเรือน

จากการสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3325-02-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอารีย์ ยี่โส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด