กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5182-02-15 เลขที่ข้อตกลง 7/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2566 ถึง 30 มกราคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5182-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2566 - 30 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,382.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัฒน์ จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและสภาพแวดล้อม ทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังกาย หลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าสใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นสาเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจจะประสบปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ตามมา เช่นโรคความดันโลหิดสูง เบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเครียด และโรคที่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องอื่นๆ การสร้างสุขภาพระบบสุขภาพของคนในยุคปัจจุบัน ต้องเน้นการ "สร้าง" สุขภาพ มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นการสร้างระบบสุขภาพเชิงรุก และเป็นการสร้างเสริมสุขภาพเนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ โรคพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมเป็นส่วนใหญ่ ทำให้รัฐต้องสิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่ายในการเยียวยารักษา จึงได้มีการรณรงค์ให้ประชาชนได้มาใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บตามที่รัฐบาลได้กำหนดนโยบาย 5 อ. เป็นหลักในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ประกอบด้วย ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์และสุขภาพจิต อนามัยชุมชน และอโรคยา ซึ่งให้เริ่มจากการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นเรื่องแรกและบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้ภาครัฐสนับสนุนองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นในการสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของประชาชนที่จะร่วมมือร่วมใจในการแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและชุมชน โดยมีเป้าหมายส่งเสริมให้คนไทยอายุ 6 ปีขึ้นไปออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่น การเดิน วิ่ง การปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค เป็นต้น ซึ่งการเต้นแอโรบิคเป็นกิจกรรมที่สามารถทำร่วมกัน ทำให้เกิดการพบปะแลกเปลี่ยนกันได้ เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต อีกทั้งยังเป็นการสร้างกระแสให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิค โรงเรียนบ้านควนขี้แรด ได้เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย สร้างความรักและสนุกในการออกกำลังกาย จึงได้จัดทำโครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บ
  2. เพื่อให้เกิดการสร้างพฤติกรรมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญการเต้นแอโรบิค การมีกิจกรรมทางกาย และการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
  3. เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. การประเมินสุขภาวะโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
  3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บให้แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
  4. กิจกรรมทางกายด้วยการเต้นแอโรบิค
  5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้น Active Play, Active Learning
  6. ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ
  7. จัดอาหารกลางวันให้มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนรู้จักวิธีการเสริมภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกายก่อนที่จะไปบำบัดรักษาโรค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมและเพื่อวางแผนดำเนินงานค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินงาน

 

0 0

2. การประเมินสุขภาวะโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประเมินภาวะสุขภาพโดยการเก็บข้อมูลน้ำหนักและส่วนสูง ดังนี้ 1. ก่อนเริ่มโครงการ 2. ทุกๆ เดือนในระหว่างดำเนินโครงการ 3. สิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการประเมินภาวะสุขภาพ

 

0 0

3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บให้แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บให้แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บ

 

0 0

4. กิจกรรมทางกายด้วยการเต้นแอโรบิค

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดกิจกรรมการเต้นแอโรบิคทุกวันอังคาร และวันศุกร์ในคาบกิจกรรมสุดท้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

 

0 0

5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้น Active Play, Active Learning

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้น Active Play, Active Learning เช่น กิจกรรม BBL หลังเข้าแถวเคารพธงชาติ กิจกรรมร้องเพลงประกอบท่าทางในรายวิชาต่างๆ เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโคร่งการได้รับการเรียนการสอนแบบ Active Play, Active Learning

 

0 0

6. ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลดำเนินงานเพื่อหาปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการจัดกิจกรรม ตลอดจนวิเคราะห์ผลสำเร็จในการจัดกิจกรรมโครงการครั้งนี้และจัดทำรูปเล่มเอกสารรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลดำเนินงาน

 

0 0

7. จัดอาหารกลางวันให้มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน

วันที่ 30 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอาหารกลางวันให้มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนโดยอ้างอิงตามโปรแกรม Thai School

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนให้กับนักเรียน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บ
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของนักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บเพิ่มขึ้น
70.00 80.00

 

2 เพื่อให้เกิดการสร้างพฤติกรรมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญการเต้นแอโรบิค การมีกิจกรรมทางกาย และการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของการสร้างพฤติกรรมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญการเต้นแอโรบิค การมีกิจกรรมทางกาย และการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์
50.00 70.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์
70.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บ (2) เพื่อให้เกิดการสร้างพฤติกรรมของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้เห็นความสำคัญการเต้นแอโรบิค การมีกิจกรรมทางกาย และการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ (3) เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) การประเมินสุขภาวะโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ (3) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายกับการลดโรคภัยไข้เจ็บให้แก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (4) กิจกรรมทางกายด้วยการเต้นแอโรบิค (5) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้น Active Play, Active Learning (6) ติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ (7) จัดอาหารกลางวันให้มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแอโรบิคเพื่อสุขภาพ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5182-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด