กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ


“ โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุไฮลาร์ มะดีเยาะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2999-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L2999-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.กระเสาะ มีผู้ป่วยทางจิตเวชจำนวน 15 ราย จากการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น และศึกษาแฟ้มประวัติครอบครัว พบว่า ส่วนใหญ่เกิดจากปัญหายาเสพติด จากปัญหาครอบครัวย และเกิดจากพันธุกรรม จากการติดตามเยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขพบปัญหาดังนี้ 1. ผู้ป่วยขาดยาเนื่องจากรับประทานต่อเนื่องแล้วดีขึ้นแล้วเบื่อหน่าายจำเจ จึงหยุดยาเอง
2. ผู้ดูแลขาดความรู้ในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช 3.ทีมเครือข่ายขาดความรู้ ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกระเสาะ ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ ผู้ป่่วยจิตเวชได้รับบริการต่อเนื่องชุมชน ลดอาการกำเริบหรือการกลับมาเป็นซ็ำเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระของญาติ และพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายตำบล ให้เกิดความเข้าใจความเข้มแข็งในการดูแลผูํ้ป่วยจิตเวชซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามปกติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีอาการกลับเป็นซ้ำที่ลดลงไม่มีอาการกำเริบ
  2. เพื่่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
  3. เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระ การดูแลของญาติ
  4. เพื่อทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 45
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่องมีอาการกลับเป็นซ้ำลดลง 2.ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง 3.ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระการดูแลของญาติ 4.ทีมภาคีเครือข่าย ในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดทำฐานทะเบียนผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่ตำบลกระเสาะ ให้เป็นปัจจุบันซึ่งมีผู้ป่วยดังนี้ 1.1 บ้านลางสาด จำนวน 4 ราย 1.2 บ้านกระเสาะ จำนวน 3 ราย 1.3 บ้านกำปงบารู จำนวน 6 ราย 1.4 บ้านยุกง จำนวน 2 ราย 1.5 บ้านบือเร๊ะ จำนวน 2 ราย 2.จัดประชุมเพื่อชี้แจงปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชในพื้นที่ และร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงาน โดยจนท.รพ.สต.กระเสาะ อสม.แต่ละหมู่บ้าน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานให้เป็นไปในทางเดียวกัน จำนวน 45 คน
  2. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับสุขภาพจิต โรคจิตเวช รวมทั้งการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ที่ถูกต้องและได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีการส่งต่อประสานงานที่เป็นแนวทางเดียวกัน จำนวน 50 คน ประกอบด้วย จนท. อสม. ทีมเครือข่ายและผู้ดูป่วยจิตเวช
  3. ออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช โดยจนท.อสม.ในแต่ละแวกที่รับผิดชอบ และร่วมด้วยทีมเครือข่ายในพื้นที่ โดยจะมอบ Sex box ให้กับผู้ป่วยจิตเวชรวมถึงญาติที่ดูแกลกก เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจและเป็นการจัดระเบียบในเรื่องทานยาที่ถูกต้อง รวมทั้งหมด 20 คน Sex box ประกอบด้วยกล่อง 1 ใบ ผ้าขนหนู1 ผืน แปรงสีฟันพร้อมยาสีฟัน 1 ชุด แผ่นพับการดูแลผูู้ป่วยจิตเวช 1 ชุด
  4. ติดสื่อให้ความรู้โดยจัดทำป้ายไวนิล ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ 5 สัญญาณเตือนผู้ป่วยจิตเวชและ 4 วิธีดูแลผู้ป่วยจิตเวช โดยติดตั้งบริเวณจุดสำคัญในพื้นที่ทั้ง 5 หมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถดูแลบุคคลในครอบครัวได้

ผู้ป่วยจิตเวชในตำบลกระเสาะปี 2566 จำนวน 17 ราย ทานยาสม่ำเสมอ 14 ราย ทานยาไม่สม่่่ำเสมอ 3 ราย ส่งต่อบ้านอุ่นไอรัก 1 ส่งต่อรพ.ปัตตานี 1 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีอาการกลับเป็นซ้ำที่ลดลงไม่มีอาการกำเริบ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคจิตเวช ในพื้นที่ได้รับการดูแลต่อเนื่อง ทานยาสม่ำเสมอ อาการกลับเป็นซ้ำลดลง
0.00 0.00

 

2 เพื่่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ญาติหรือผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
0.00

 

3 เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระ การดูแลของญาติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดภาระของผู้ดููแลของญาติ
0.00

 

4 เพื่อทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน
ตัวชี้วัด : ทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทางเดียวกัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 45 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคจิตเวชได้รับการดูแลต่อเนื่อง มีอาการกลับเป็นซ้ำที่ลดลงไม่มีอาการกำเริบ (2) เพื่่อให้ญาติหรือผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง (3) เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและลดภาระ การดูแลของญาติ (4) เพื่อทีมภาคีเครือข่ายในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในผู้ป่วยจิตเวชและมีรูปแบบการดูแลที่เป็นไปในทาางเดียวกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพทีมเครือข่ายและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชุนตำบลกระเสาะ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L2999-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุไฮลาร์ มะดีเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด