กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางยูไวรียะ ยูนุ๊

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 32

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นโรคติดต่อเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุข สาเหตุที่ทำให้วัณโรคกลับมามีใหม่ เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ความยากจน การอพยพย้ายถื่นและแรงงานเคลื่อนย้าย ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาวัณโรคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ส่งผลให้การแพร่ระบาดของวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มมาก สาเหตุส่วนนึงเกิดจากวัณโรคเป็นโรคที่ปรากฏอาการช้าๆ ทำให้ผู้ป่วยส่วนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในชุมชน และเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขล่าช้า หรือบางราย เข้าไม่ถึงระบบบริการแล้ว ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า ทำให้แพร่กระจายเชื้อในชุมชน ดังนั้นจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
พื้นที่ตำบลสะเตงนอก เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรควัณโรคมาอย่างต่อเนื่อง และพื้นที่ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา มีปัญหาการระบาดของโรควัณโรคมาอย่างต่อเนื่องเช่นกัน จากการดำเนินงานคัดกรองวัณโรคในประชาชนในเขตรับผิดชอบ พบว่า ในปี 2565 มีผู้ป่วยวัณโรค จำนวน 12 คน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าว จำนวน 2 คน เล็งเห็นได้ว่าโรคนี้ส่งผลอันตรายต่อประชาชนในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิบงบารู ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จึงมี ความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน โดยการมี ส่วนร่วมชุมชน ซึ่งจะทำให้เกิดเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในชุมชน อันส่งผลต่อการแพร่ระบาดของวัณโรคในชุมชน ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาต่อเนื่องจนครบการรักษาและมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและสังเกตอาการที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  2. เพื่อใช้เทคโนโลยีในการติดตามผู้ป่วยวัณโรค
  3. เพื่อใช้ในการติดตามกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ให้ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง
  2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมติดตามฯ แก่อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 124
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนป่วยด้วยโรควัณโรคลดลงจากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
  2. กลุ่มเสี่ยงและอสม.มีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของโรควัณโรค
  3. อสม.สามารถใช้โปรแกรมเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง

วันที่ 4 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 2.จัดทำแผนออกรณรงค์ในชุมชน 3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและสังเกตอาการที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคแก่กลุ่มเสี่ยงวัณโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนป่วยด้วยโรควัณโรคลดลงจากเดิม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
  2. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของโรควัณโรค

 

0 0

2. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมติดตามฯ แก่อสม.

วันที่ 4 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมติดตามผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงแก่อสม. โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความรู้
  2. ให้อสม.ประจำหมู่บ้านค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยวัณโรคโดยใช้โปรแกรมฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม.มีความรู้ความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของโรควัณโรค
  2. อสม.สามารถใช้โปรแกรมเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและสังเกตอาการที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อใช้เทคโนโลยีในการติดตามผู้ป่วยวัณโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อใช้ในการติดตามกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ให้ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 124
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 124
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและสังเกตอาการที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค (2) เพื่อใช้เทคโนโลยีในการติดตามผู้ป่วยวัณโรค (3) เพื่อใช้ในการติดตามกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ให้ได้รับการส่งต่อและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมติดตามฯ แก่อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดตามผู้ป่วยวัณโรค ประจำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางยูไวรียะ ยูนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด