กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยะมาศ พจนาวาณิชย์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของผู้หญิงไทย ซึ่งพบมากในช่วงอายุ 30-50 ปี และโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งทีพบมาก 1 ใน 5 ของประเทศไทยและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตไม่ตำ่กว่า 3,000 ราย และมักพบโรคในวัย 50 ปีขึ้นไป ซึ่งโรคมะเร็งเป็นโรคเป็นโรคที่สามารถดูแลป้องกันและรักษาได้ใมระยะเริ่มต้นและการป้องกันที่ดีที่สุดคือการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนัก และกระต้นให้เกิดการดูแลและป้องกันตัวเอง โดยการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ซึ่งโรคมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจคัดกรองเบื้องต้นด้วยวิธีเอชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA TEST) เป็นการตรวจด้วยวิธีเจาะลึกระดับดีเอ็นเอเพื่อตรวจหาเชิ้อเอชพีวี สายพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ คือสายพันธ์ุ 16,18 และ เอชพีวี 12 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักสูงถึงร้อยละ 99 ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิง ดังนั้นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจึงสามารถช่วยลดอุบัติการณ์ของการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ และการตรวจหาเม็ดเลือดแดงแฝงในอุจจาระด้วยวิธี fit test (fecal lmmunochemical test for hemoglobin) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ซึ่งโรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตและสิ่งเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก อัตราการป่วยตายด้วยโรคมะเร็งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ในปีที่ผ่านมา ยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป่าหมายเนื่องจากกลุ่มเป้าหมายบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง หรือมีความอายและไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการการได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ เพื่อให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้ก็เพื่อให้การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้นและกรณีพบความผิดปกติก็จะได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลรักษาอย่างทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ในเรื่องมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปีมีความรู้ในเรื่องมะเร็งเต้านม
  3. เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 50-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่
  4. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก
  5. เพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเข้าใจในเรื่่องการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ รวมถึงสามารถเผยแพร่ความรู้ในแก่ชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ในเรื่องมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปีที่ได้รับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปีมีความรู้ในเรื่องมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปีที่ได้รับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 50-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้น
0.00

 

4 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี ที่ได้รับการอบรม สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอบรมได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
0.00

 

5 เพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี ที่ได้รับการอบรม สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอบรมได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ในเรื่องมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปีมีความรู้ในเรื่องมะเร็งเต้านม (3) เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 50-70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่ (4) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะแรก (5) เพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปิยะมาศ พจนาวาณิชย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด