โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนารีรัตน์ สอเหลบ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5313-03-003 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-03-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,996.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ อาหารช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายและควบคุมการทำงานของร่างกายให้ปกติ ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยซึ่งการกินอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม เพียงพอ จะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้าม หากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือหากได้รับมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน เพราะ อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโตทั้ง ด้านร่างกาย สังคม อารมณ์และสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2-4 ปีแรก เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านให้กับเด็กก่อนวัยเรียน ปัญหาที่พบบ่อยในวัยนี้ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากการขาดสารอาหาร และภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่แตกต่างกัน
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา มีนักเรียนทั้งหมด 17 คน จำนวนเด็กชาย 10 คน และจำนวนหญิง 7 คน จากการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กในศูนย์ฯ พบว่าเด็กมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5 และภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๖ ของนักเรียนทั้งหมด อันเนื่องจาก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ต้องออกไปทำงานตั้งแต่เช้า ไม่ได้เตรียมอาหารเช้าไว้ให้สำหรับเด็ก บางรายพ่อแม่ผู้ปกครอง ให้เงินไว้เพื่อซื้ออาหารเช้า แต่เด็กกลับนำไปซื้อขนมทานเล่นแทน บางครอบครัวเด็กขาดแคลนแหล่งอาหาร ไม่มีเงินซื้อ ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแล การบริโภคอาหารไม่ครบตามหลักโภชนาการ จะส่งผลต่อระบบสมองและสมาธิในการเรียนรู้ของเด็ก ภาวะโภชนาการที่เป็นปัญหามักก่อให้เกิดโรคภัยต่างๆมากมาย ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
ดังนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา จึงได้จัดโครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 ขึ้นเพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดี เหมาะสมตามวัยเพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการ ภาวะโภชนาการสำหรับเด็ก และการปลูกผักสวนครัวในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อนำมาใช้ประโยชน์และเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์
- เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
- ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
- เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. เตรียมความพร้อม
- 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้
- 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล
- 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์
- 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว
- 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. เตรียมความพร้อม
วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นตอนที่ 1 สำรวจสภาพปัญหาเรื่องของเด็กที่มีน้ำหนักไม่ตามเกณฑ์และเด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์โดยดูจากแบบประเมินพัฒนาการเด็กเมื่อได้รับข้อมูลดังกล่าวเเล้วจึงหาสาเหตุสภาพปัญหาดังกล่าวจากการสังเกตุพบว่ามีเด็กที่มีปัญหาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มที่ 1 เด็กที่มีน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์พบว่าผูู้ปกครองส่วนใหญ๋เร่งรีบกับการไปทำงาน จึงไม่มีเวลาจัดเตรียมอาหารเช้าให้กับเด็ก บางครั้งมักจะซื้ออาหารสำเร็จรูปหรือขนมขบเคี้ยว ทำให้ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่ไม่เหมาะสมตามวัยจำนวน 4 คน
กลุ่มที่ 2 เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์
จำนวน 3 คน
ขั้นตอนที่ 2 นำเสนอโครงการต่อกองการศึกษาท้องถิ่น และ นำโครงการเข้าแผนพัฒนาการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยกำหนดงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลละงู
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้จำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
0
0
2. 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้
วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ครูตรวจประเมินน้ำหนัก/ส่วนสูง เพื่อเป็นการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก
-จดบันทึกพฤติกรรมการทานอาหารเช้าของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
-ประเมินภาวะโภชนาการทุก 1 เดือน
-จัดซื้อที่วัดส่วนสูง 1 ชุด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ครูได้ข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก
-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีที่วัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน
0
0
3. 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล
วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นวางแผน(P)
-ประชุมชี้แจงเเนวทางการปฏิบัติงานตามแผนการดำเดินงาน
-แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขั้นดำเนินงาน(D)
-ดำเนินกิจกรรมอบรมเรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล
ชั้นประเมินผล(C)
-สรุปผลการดำเนินกิจกรรมสรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
ขั้นปรับปรุงพัฒนางาน(A)
-นำผลการดำเนินกิจกรรมมาวิเคราะห์ปรับปรุงพัฒนาเพื่อวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะกับตามวัย
0
0
4. 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว
วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การเกษตร พันธ์ผักสวนครัว
-ครูเเละเด็กช่วยกันปลุกผักภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเป็นแหล่งเรียนเรียนรู้ให้กับเด็กทุกคนภายในศูนย์ฯโดยมีครูเป็นพี่เลี้ยงและให้เด็กช่วยกันดูแลผักเผื่อผักสามารถรับประทานได้จึงมีการเก็บผักมาปรุงอาหารเพื่อให้เด็กกินผักที่ปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีวัสดุอุปกรณืการเกษตรและพันธ์ผักส่วนครัวเพื่อเตรียมไว้จัดกิจกรรมให้เด็กๆในศูนย์ฯ
-เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมาะสมตามวัยมีความสุข สนุกสนาน ในการลงมือปฏิบัติกิจกรรม
0
0
5. 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์
วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำอาหารเช้าสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 7 คน เป็นเวลา 80 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กที่มีภาวาทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน และมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ดีขึ้น
0
0
6. 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย
วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดซื้อลำโพงพร้อมไมค์โครโฟน
-จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเต้นแอโรบิคในตอนเช้าทุกวันๆละ 1 ชั่วโมง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีลำโพงที่ได้มาตรฐาน
-เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมาะสมตามวัยมีความสุข สนุกสนานกับการทำกิจกรรม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ลดลง
0.00
7.00
น้ำหนักตามเกณฑ์ - คน ค่อนข้างน้อย 3 คน น้อยกว่าเกณฑ์ 2 คน เกิณเกณฑ์ - คน ค่อนข้างมาก 2 คน ค่อนข้างน้อย 3 คน
หลังดำเนินกิจกรรม
น้ำหนักตามเกณ์ 5 คน
น้อยกว่าเกณฑ์ 0 คน
เกินเกณฑ์ 0 คน
ค่อนข้าางมาก 2 คน
2
เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้กินอาหารที่เหมาะสมตามกับวัย
0.00
7.00
นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้กินอาหารที่เหมาะสมตามกับวัย
3
ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
0.00
19.00
ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
4
เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 60 นาที/วัน)
0.00
17.00
นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 60 นาที/วัน)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
17
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ (2) เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (3) ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย (4) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เตรียมความพร้อม (2) 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้ (3) 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล (4) 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์ (5) 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว (6) 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5313-03-003
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนารีรัตน์ สอเหลบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนารีรัตน์ สอเหลบ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5313-03-003 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-03-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,996.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ อาหารช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายและควบคุมการทำงานของร่างกายให้ปกติ ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยซึ่งการกินอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม เพียงพอ จะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้าม หากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือหากได้รับมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วนหรือโภชนาการเกิน เพราะ อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นรากฐานของการพัฒนาการเจริญเติบโตทั้ง ด้านร่างกาย สังคม อารมณ์และสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2-4 ปีแรก เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านให้กับเด็กก่อนวัยเรียน ปัญหาที่พบบ่อยในวัยนี้ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากการขาดสารอาหาร และภาวะโภชนาการเกิน โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่แตกต่างกัน
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา มีนักเรียนทั้งหมด 17 คน จำนวนเด็กชาย 10 คน และจำนวนหญิง 7 คน จากการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กในศูนย์ฯ พบว่าเด็กมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5 และภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๖ ของนักเรียนทั้งหมด อันเนื่องจาก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ต้องออกไปทำงานตั้งแต่เช้า ไม่ได้เตรียมอาหารเช้าไว้ให้สำหรับเด็ก บางรายพ่อแม่ผู้ปกครอง ให้เงินไว้เพื่อซื้ออาหารเช้า แต่เด็กกลับนำไปซื้อขนมทานเล่นแทน บางครอบครัวเด็กขาดแคลนแหล่งอาหาร ไม่มีเงินซื้อ ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแล การบริโภคอาหารไม่ครบตามหลักโภชนาการ จะส่งผลต่อระบบสมองและสมาธิในการเรียนรู้ของเด็ก ภาวะโภชนาการที่เป็นปัญหามักก่อให้เกิดโรคภัยต่างๆมากมาย ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
ดังนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา จึงได้จัดโครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 ขึ้นเพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดี เหมาะสมตามวัยเพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการ ภาวะโภชนาการสำหรับเด็ก และการปลูกผักสวนครัวในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อนำมาใช้ประโยชน์และเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์
- เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
- ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
- เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. เตรียมความพร้อม
- 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้
- 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล
- 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์
- 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว
- 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. เตรียมความพร้อม |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นตอนที่ 1 สำรวจสภาพปัญหาเรื่องของเด็กที่มีน้ำหนักไม่ตามเกณฑ์และเด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์โดยดูจากแบบประเมินพัฒนาการเด็กเมื่อได้รับข้อมูลดังกล่าวเเล้วจึงหาสาเหตุสภาพปัญหาดังกล่าวจากการสังเกตุพบว่ามีเด็กที่มีปัญหาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มที่ 1 เด็กที่มีน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์พบว่าผูู้ปกครองส่วนใหญ๋เร่งรีบกับการไปทำงาน จึงไม่มีเวลาจัดเตรียมอาหารเช้าให้กับเด็ก บางครั้งมักจะซื้ออาหารสำเร็จรูปหรือขนมขบเคี้ยว ทำให้ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่ไม่เหมาะสมตามวัยจำนวน 4 คน
กลุ่มที่ 2 เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ
|
0 | 0 |
2. 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้ |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ครูตรวจประเมินน้ำหนัก/ส่วนสูง เพื่อเป็นการคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก -จดบันทึกพฤติกรรมการทานอาหารเช้าของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก -ประเมินภาวะโภชนาการทุก 1 เดือน -จัดซื้อที่วัดส่วนสูง 1 ชุด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ครูได้ข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีที่วัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน
|
0 | 0 |
3. 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นวางแผน(P) -ประชุมชี้แจงเเนวทางการปฏิบัติงานตามแผนการดำเดินงาน -แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินงาน(D) -ดำเนินกิจกรรมอบรมเรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล ชั้นประเมินผล(C) -สรุปผลการดำเนินกิจกรรมสรุปและรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นปรับปรุงพัฒนางาน(A) -นำผลการดำเนินกิจกรรมมาวิเคราะห์ปรับปรุงพัฒนาเพื่อวางแผนการดำเนินงานในปีต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะกับตามวัย
|
0 | 0 |
4. 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การเกษตร พันธ์ผักสวนครัว -ครูเเละเด็กช่วยกันปลุกผักภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเป็นแหล่งเรียนเรียนรู้ให้กับเด็กทุกคนภายในศูนย์ฯโดยมีครูเป็นพี่เลี้ยงและให้เด็กช่วยกันดูแลผักเผื่อผักสามารถรับประทานได้จึงมีการเก็บผักมาปรุงอาหารเพื่อให้เด็กกินผักที่ปลอดสารพิษ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีวัสดุอุปกรณืการเกษตรและพันธ์ผักส่วนครัวเพื่อเตรียมไว้จัดกิจกรรมให้เด็กๆในศูนย์ฯ -เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมาะสมตามวัยมีความสุข สนุกสนาน ในการลงมือปฏิบัติกิจกรรม
|
0 | 0 |
5. 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์ |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำอาหารเช้าสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 7 คน เป็นเวลา 80 วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กที่มีภาวาทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน และมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ดีขึ้น
|
0 | 0 |
6. 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย |
||
วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดซื้อลำโพงพร้อมไมค์โครโฟน -จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเต้นแอโรบิคในตอนเช้าทุกวันๆละ 1 ชั่วโมง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีลำโพงที่ได้มาตรฐาน -เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมาะสมตามวัยมีความสุข สนุกสนานกับการทำกิจกรรม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ลดลง |
0.00 | 7.00 | น้ำหนักตามเกณฑ์ - คน ค่อนข้างน้อย 3 คน น้อยกว่าเกณฑ์ 2 คน เกิณเกณฑ์ - คน ค่อนข้างมาก 2 คน ค่อนข้างน้อย 3 คน หลังดำเนินกิจกรรม น้ำหนักตามเกณ์ 5 คน น้อยกว่าเกณฑ์ 0 คน เกินเกณฑ์ 0 คน ค่อนข้าางมาก 2 คน |
|
2 | เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้กินอาหารที่เหมาะสมตามกับวัย |
0.00 | 7.00 | นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้กินอาหารที่เหมาะสมตามกับวัย |
|
3 | ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย |
0.00 | 19.00 | ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย |
|
4 | เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 60 นาที/วัน) |
0.00 | 17.00 | นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 60 นาที/วัน) |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | 17 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ (2) เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (3) ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย (4) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เตรียมความพร้อม (2) 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้ (3) 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล (4) 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์ (5) 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว (6) 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านนาพญา ประจำปี 2566 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 66-L5313-03-003
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนารีรัตน์ สอเหลบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......