กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ประจำปี 2566 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุชสาร๊ะ อุสมา

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-03-002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ประจำปี 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-03-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,331.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์ สังคม สติปัญญา และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และการเรียนรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป โภชนาการถือว่าเป็นสิ่งสำคัญต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ช่วงที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโต และพัฒนาการในทุกๆด้านของ ชีวิต เมื่อเด็กวัยนี้ได้รับการเลี้ยงดูทางกายและจิตใจอย่างถูกต้อง อาหารและโภชนาการที่เหมาะสม เป็นปัจจัย ที่สำคัญ อย่างหนึ่ง ในการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ปัจจุบันศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวนมีเด็กในเขตบริการ หมู่ที่ 3 ,15 และ 17 ตำบลละงู มีพื้นที่ 320 ตารางเมตร เด็กที่เข้าเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทั้งหมด 72คน ชาย 35คนหญิง 37คน จากการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก ผลปรากฏว่าเด็กมีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 26 คน เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ได้แก่ผอม ค่อนข้างผอมเตี้ยและค่อนข้างเตี้ย จำนวน15คน คิดเป็นร้อยละ 20.83เด็กที่มีภาวะโภชนาการสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานได้แก่ อ้วน ค่อนข้างอ้วน สูง และค่อนข้างสูง จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ15.27ของนักเรียนทั้งหมดมีปัญหาด้านโภชนาการ ดังนี้ ไม่รับประทานผัก รับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ น้ำหนักน้อย น้ำหนักเกินเกณฑ์ ไม่สมส่วน เด็กไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาจากบ้าน สาเหตุเนื่องจาก ผู้ปกครองไม่มีเวลาต้องเร่งรีบไปทำงานและไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็ก ไม่ได้ทำอาหารรับประทานเอง มีรายได้น้อย การปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหารของเด็กจะเป็นไปได้ยากและช้า เนื่องจากเด็กจะเลือกรับประทานในสิ่งที่เด็กชอบและเคยชิน ดังนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ปี พ.ศ. 2566 ขึ้น เพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการที่ดี เหมาะสมตามวัย ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการภาวะโภชนาการสำหรับเด็ก และการดูแลสุขภาวะในเด็กปฐมวัย การปลูกผักสวนครัวในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์
  2. เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
  3. ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
  4. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. เตรียมความพร้อม
  2. 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้
  3. 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล
  4. 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์
  5. 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว
  6. 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กมีสุขภาพดี มีพัฒนาการทางร่างกาย และสติปัญญาสมวัย 2. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ติดตาม ดูแล ร่วมแก้ปัญหาโภชนาในเด็กปฐมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. เตรียมความพร้อม

วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนที่1 สำรวจสภาพปัญหาเรื่องของเด็กที่มีน้ำหนักไม่เป็นไปตามเกณฑ์และเด็กที่มีน้ำหนักเกินโดยดูจากแบบบันทึกพัฒนาการเด็กเมื่อได้ข้อมูลดังกล่าวจึงหาสาเหตุถึงสภาพปัญหาดังกล่าวจากการสำรวจพบว่ามีเด็กที่มีปัญหาแบ่งเป็น2กลุ่มได้แก่กลุ่มที่1 เด็กที่มีน้ำหนักไม่ถึงเกณฑ์พบว่าผู้ปกครองส่วนใหญ่เร่งรีบกับการไปทำงานจึงไม่มีเวลาจัดเตรียมอาหารเช้าให้กับเด็กบางครั้งมักซื้ออาหารสำเร็จรูปหรือชนมขบเคี้ยวให้รับประทานแทนอาหารเช้า สอดคล้องกับสภาพเด็กที่ไม่ชอบรับประทานอาหารเที่ยงเนื่องจากไม่ชอบรสชาติอาหารที่ไม่เหมือนกับอาหารสำเร็จรูปหรือขนมขบเคี้ยว ทำให้ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่ไม่เหมาะสมตามวัยจำนวน 15 คน กลุ่มที่ 2 เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์จำนวน 11 คน รวมเด็กที่มีภาวะทุปโภชนาการ ทั้งหมด 26 คน ขั้นตอนที่2 นำเสนอโครงการต่อกองศึกษาเพื่อนำเข้าแผนพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นและนำโครงการเข้าแผนพัฒนาการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากนั้นนำโครงการดังกล่าวเข้าสู่แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566 ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยกำหนดงบประมาณขอสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสุขภาพตำบล(สปสช.)ตำบลละงู ขั้นตอนที่3 ประชุมคณะครูเพื่อนำเสนอของงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสุขภาพตำบล(สปสช.)ตำบลละงู

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ

 

0 0

2. 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว

วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์การเกษตรพันธ์ผักสวนครัว -ครูและเด็กช่วยกันปลูกผักภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเด็กทุกคนภายในศูนย์ฯโดยมีครูเป็นพี่เลี้ยงและให้เด็กช่วยกันดูแลผักเมื่อผักสามารถรับประทานได้จึงมีการเก็บผักมาปรุงอาหารเพื่อให้เด็กกินผักที่ปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีวัสดุอุปกรณ์การเกษตรและพันธ์ผักสวนครัวเพื่อเตรียมไว้จัดกิจกรรมให้เด็กๆในศูนย์ฯ - เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงในการปลูกผักสวนครัว เด็กมีความสุขสนุกสนาน ในการลงมือปฏิบัติกิจกรรม

 

72 0

3. 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำอาหารเช้าสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 26 คน เป็นเวลา 80 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าทุกคนเเละมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ดีขึ้น

 

26 0

4. 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย

วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดซื้อลำโพงพร้อมไมโครโฟน -จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเต้นแอโรบิคในตอนเช้าทุกวันๆละ 1 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีลำโพงที่ได้มาตรฐาน -เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขสภาพร่างกายเเข็งเเรงเหมาะสมตามวัยมีความสุชสนุกสนานกับการทำ

 

72 0

5. 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิทัล และ ที่วัดส่วนสูง จำนวน 1 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิทัลและที่วัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน

 

77 0

6. 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นวางแผน(P) -ประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานตามแผนการดำเนินงาน -แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ ขั้นดำเนินการ(D) -ดำเนินกิจกรรมอบรมเรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล ขั้นประเมินผล(C) -สรุปผลการดำเนินกิจกรรมสรุปและรายงานผลการดำเนินงาน ขั้นปรับปรุงพัฒนางาน(A) -นำผลการดำเนินกิจกรรมมาวิเคราห์ปรับปรุงพัฒนาเพื่อวางแผนดำเนินงานในปีต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย

 

77 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ลดลง
26.00 25.00

มีเด็กที่น้ำหนักเกิณเกณฑ์ จาก 11 คน หลังจัดกิจกรรม เหลือ 1 คน
เด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 15 คน หลังจัดกิจกรรมมีน้ำหนักตามเกณฑ์

2 เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้กินอาหารที่เหมาะสมตามกับวัย
26.00 26.00

เด็กได้กินอาหารที่เหมาะสมกับวัย

3 ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย
77.00 77.00

ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย

4 เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 60 นาที/วัน)
72.00 72.00

นักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 60 นาที/วัน) โดยการออกกำลังกายก่อนเรียนทุกวัน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 77
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์/เกินเกณฑ์ (2) เพิ่มการกินอาหารเช้าของเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ (3) ครูและและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัย (4) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เตรียมความพร้อม (2) 2. กิจกรรมคัดกรอง ชั่งน้ำหนักส่วนสูงลงกราฟพัฒนาการรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้ (3) 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดอาหารที่เหมาะสมกับเด็กและสะท้อนปัญหาทุพโภชนาการของเด็กรายบุคคล (4) 4. กิจกรรมอาหารเช้าของหนูเพื่อโภชนาการที่สมบูรณ์ (5) 5. กิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตรปลูกพืชผักสวนครัว (6) 6. กิจกรรมหนูน้อยสดใส ใส่ใจออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดบ้านเกาะยวน ประจำปี 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-03-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนุชสาร๊ะ อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด