กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้


“ โครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566 ”

ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางกชามาศ เฉ่งไล่

ชื่อโครงการ โครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8428-02-08 เลขที่ข้อตกลง 20/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8428-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและส่งผลกระทบในหลายด้าน ถือเป็นภัยเงียบระดับชาติและเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข กลุ่มโรคดังกล่าวนี้มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหลายปัจจัย ข้อมูลองค์การอนามัยโลกระบุประชากรทั่วโลกเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 63 และที่สำคัญเป็นประชากรในประเทศกำลังพัฒนาถึงร้อยละ 80 ขณะที่คนไทยเสียชีวิตด้วยกลุ่มโรคนี้สูงกว่าอัตราการเสียชีวิตเฉลี่ยของประชากรทั้งโลกถึงร้อยละ 10 และสูงกว่าทุกประเทศในโลก การดำเนินการงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อในปัจจุบัน ได้มีหลากหลายแนวคิดการดำเนินการ เช่น แนวทางการปฏิบัติงานตามองค์การอนามัยโลก แนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงสาธารณสุขตามคู่มือการปฏิบัติงานป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อ โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพใช้หลัก 3อ.2ส. คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ไม่สูบบุหรี่และไม่ดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จากการสำรวจชุประชาชน หมู่ที่ 1 3 6 และ 7 ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่สนใจการการออกกำลังกายและจากการคัดกรองการบริโภคหวาน มัน เค็ม ในครัวเรือนด้วยวาจา พบว่า ในแต่ละครัวเรือนเน้นการปรุงอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนที่สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพแก่ประชาชนและการออกกำลังกาย ดังนั้นชมรมรักษ์สุขภาพบ้านนาท่าม ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาและเพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหา ควบคุม รักษาหรือส่งเสริมดำรงคงไว้ซึ่งสุขภาพที่ดี และการปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชนให้มีการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาท่ามใต้ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนในการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร
  2. ข้อที่ 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคโดยลดหวาน มัน เค็ม ของประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ (ป้องกันโรค) 1.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเบาหวาน-ความดัน 1.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม 1.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกกำลังกาย ดัชนีมวลกาย (BMI) รอบเอว ความดัน ชีพจร
  2. 2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย 2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายเต้นการเต้นบาสโลป 2.2 แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม 2.3 สาธิตการออกกำลังกายเต้นบาสโลป 2.4 กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ต่อเนื่องสั

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร สามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม ซึ่งเป็นการป้องกันและลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้
  3. ประชาชนมีการออกกำลังกาย ทำให้มีกิจกรรมร่วมกันด้านสุขภาพในชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนในการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารและนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคโดยลดหวาน มัน เค็ม ของประชาชน
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม ได้ ร้อยละ 60
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้ประชาชนในการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร (2) ข้อที่ 2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคโดยลดหวาน มัน เค็ม ของประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพ (ป้องกันโรค)    1.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรคเบาหวาน-ความดัน    1.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม    1.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกกำลังกาย ดัชนีมวลกาย (BMI) รอบเอว ความดัน ชีพจร (2) 2. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย    2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายเต้นการเต้นบาสโลป    2.2 แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม    2.3 สาธิตการออกกำลังกายเต้นบาสโลป    2.4 กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ต่อเนื่องสั

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ ประจำปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8428-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกชามาศ เฉ่งไล่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด