โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ”
ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายจวน ประภา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ที่อยู่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L8428-03-08 เลขที่ข้อตกลง 19/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8428-03-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 608 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากคำนิยามว่าสังคมสูงวัย คือ สังคมที่มีสัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยก็กำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คาดว่าสังคมไทยกำลังจะเข้าสังคมผู้สูงอายุในปี 2568 โดยมีประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปร้อยละ 10 หรือมากกว่า 7 ล้านคน สัดส่วนของจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยๆในผู้สูงอายุ เช่น โรคเรื้อรัง สมองเสื่อม การหกล้ม เป็นต้น ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลง มีภาวะร่างกายที่เสื่อมถอยลง มีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง
กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและระบบต่างๆ เพื่อเสริมสร้างหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ การสร้างหลักประกันและให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง เน้นการเสริมสร้างศักยภาพ และพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพภาคประชาชนในการป้องกัน การฟื้นฟู สมรรถภาพและคุ้มครองด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม โดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ถือเป็นบุคคลจิตอาสาให้ความช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน โดยอสม.จะช่วยดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนให้มีสุขภาพแข็งแรง และคุณภาพชีวิตที่ดี ให้การดูแลที่ถูกต้อง การเฝ้าระวังสุขภาพผู้สูงอายุ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามสถานะ ความช่วยเหลือและต้องดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง อสม.เพื่อส่งต่อผู้สูงอายุหรือให้ความช่วยเหลือให้เหมาะสมตามอาการ การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว เป็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยและยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด อาจแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามกลุ่มศักยภาพความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน โดยใช้แบบประเมินดัชนีบาร์เทล เอดีแอล ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ติดสังคม พึ่งพาตนเองได้ กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง กลุ่มที่ 3 ติดเตียง คือ ผู้สูงอายุที่ป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการดูแลฟื้นฟู สุขภาพต่อเนื่อง
ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาท่ามใต้ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ไม่เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
- ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
- ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
- ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 3. การดำเนินงานประชุมใหญ่และจัดกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ 3.1 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 3.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 ดำเนินตามกิจกรรมชมรม 3.4 กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ เพื่อนช่วยเพื่อนและกิจกรรมจิตอาสาในชุมชนดูแลสิ่งแวดล้อม
- 1. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบตำบลและคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ
- 2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 2.1 อบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำ อสม. ในการส่งเสริมและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 100 2.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 2.3 ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพตามระบบส่งต่อ ร้อยละ 100 2.4 ติดตามการดูแ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
11
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้ตรวจสุขภาพและมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
- ชุมชนโดย อสม.และผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้สามารถดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้
- ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการส่งต่อเนื่องพบเจ้าหน้าที่และแพทย์ได้ทันท่วงที
- มีเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
- ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ตัวชี้วัด : 1. จิตอาสาได้ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้มีภาวะพึ่งพิง ร้อยละ 100
80.00
80.00
2
ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 2. จิตอาสาช่วยดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80.00
80.00
3
ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด : 3. ติดตามส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 95
80.00
80.00
4
ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด : 4. ติดตามการส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
71
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
11
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (2) ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (4) ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3. การดำเนินงานประชุมใหญ่และจัดกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ 3.1 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 3.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 ดำเนินตามกิจกรรมชมรม 3.4 กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ เพื่อนช่วยเพื่อนและกิจกรรมจิตอาสาในชุมชนดูแลสิ่งแวดล้อม (2) 1. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบตำบลและคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ (3) 2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 2.1 อบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำ อสม. ในการส่งเสริมและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 100 2.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 2.3 ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพตามระบบส่งต่อ ร้อยละ 100 2.4 ติดตามการดูแ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L8428-03-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจวน ประภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ”
ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายจวน ประภา
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L8428-03-08 เลขที่ข้อตกลง 19/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8428-03-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 608 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากคำนิยามว่าสังคมสูงวัย คือ สังคมที่มีสัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ประเทศไทยก็กำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คาดว่าสังคมไทยกำลังจะเข้าสังคมผู้สูงอายุในปี 2568 โดยมีประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปร้อยละ 10 หรือมากกว่า 7 ล้านคน สัดส่วนของจำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ทำให้อัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น อาจจะนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยๆในผู้สูงอายุ เช่น โรคเรื้อรัง สมองเสื่อม การหกล้ม เป็นต้น ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลง มีภาวะร่างกายที่เสื่อมถอยลง มีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรและระบบต่างๆ เพื่อเสริมสร้างหลักประกันทางสังคมขั้นพื้นฐานสำหรับผู้สูงอายุ การสร้างหลักประกันและให้ความช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึงและตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง เน้นการเสริมสร้างศักยภาพ และพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพภาคประชาชนในการป้องกัน การฟื้นฟู สมรรถภาพและคุ้มครองด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม โดยให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ถือเป็นบุคคลจิตอาสาให้ความช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน โดยอสม.จะช่วยดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนให้มีสุขภาพแข็งแรง และคุณภาพชีวิตที่ดี ให้การดูแลที่ถูกต้อง การเฝ้าระวังสุขภาพผู้สูงอายุ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามสถานะ ความช่วยเหลือและต้องดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง อสม.เพื่อส่งต่อผู้สูงอายุหรือให้ความช่วยเหลือให้เหมาะสมตามอาการ การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว เป็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยและยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด อาจแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามกลุ่มศักยภาพความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน โดยใช้แบบประเมินดัชนีบาร์เทล เอดีแอล ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ติดสังคม พึ่งพาตนเองได้ กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง กลุ่มที่ 3 ติดเตียง คือ ผู้สูงอายุที่ป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการดูแลฟื้นฟู สุขภาพต่อเนื่อง ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาท่ามใต้ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ไม่เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
- ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
- ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
- ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 3. การดำเนินงานประชุมใหญ่และจัดกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ 3.1 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 3.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 ดำเนินตามกิจกรรมชมรม 3.4 กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ เพื่อนช่วยเพื่อนและกิจกรรมจิตอาสาในชุมชนดูแลสิ่งแวดล้อม
- 1. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบตำบลและคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ
- 2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 2.1 อบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำ อสม. ในการส่งเสริมและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 100 2.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 2.3 ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพตามระบบส่งต่อ ร้อยละ 100 2.4 ติดตามการดูแ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 11 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้ตรวจสุขภาพและมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
- ชุมชนโดย อสม.และผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้สามารถดูแลผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้
- ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการส่งต่อเนื่องพบเจ้าหน้าที่และแพทย์ได้ทันท่วงที
- มีเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม
- ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ตัวชี้วัด : 1. จิตอาสาได้ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้มีภาวะพึ่งพิง ร้อยละ 100 |
80.00 | 80.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม ตัวชี้วัด : 2. จิตอาสาช่วยดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง |
80.00 | 80.00 |
|
|
3 | ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ตัวชี้วัด : 3. ติดตามส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 95 |
80.00 | 80.00 |
|
|
4 | ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ตัวชี้วัด : 4. ติดตามการส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 71 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 11 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (2) ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ (4) ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3. การดำเนินงานประชุมใหญ่และจัดกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ 3.1 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 3.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 ดำเนินตามกิจกรรมชมรม 3.4 กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ เพื่อนช่วยเพื่อนและกิจกรรมจิตอาสาในชุมชนดูแลสิ่งแวดล้อม (2) 1. ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบตำบลและคณะทำงานชมรมผู้สูงอายุ (3) 2. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 2.1 อบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำ อสม. ในการส่งเสริมและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 100 2.2 ตรวจสุขภาพคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ 95 2.3 ส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพตามระบบส่งต่อ ร้อยละ 100 2.4 ติดตามการดูแ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 66-L8428-03-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจวน ประภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......