กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการเกษตรปลอดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปีงบประมาณ 2566 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่

หัวหน้าโครงการ
นายสุกิจ เถาถวิล

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-08 เลขที่ข้อตกลง 07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรปลอดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรปลอดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ในภาคเกษตรกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย แต่ทำงานหนักและลักษณะการทำงานมีความเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพ จากผลการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปี 2562 มีผู้มีงานทำทั้งสิ้น 47.4 ล้านคน เป็นกลุ่มแรงงานนอกระบบ 22.1 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 57.6 และที่เหลือเป็นแรงงานในระบบ 17.2 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ42.4ซึ่งแรงงานนอกระบบมากกว่าครึ่งหนึ่งทำงานในภาคเกษตรกรรมโดยมีจำนวนถึง 14.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ46.9 ของแรงงานนอกระบบทั้งหมด ซึ่งในปัจจุบันเกษตรกรมีการใช้สารเคมีทางเกษตรอย่างแพร่หลาย เพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรที่มีความสวยงาม ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืช หากมีการใช้ในปริมาณมาก ใช้ไม่ถูกวิธี ผู้ใช้ขาดการป้องกันตนเองขณะใช้งาน อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ดังนั้นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจึงเป็นความเสี่ยงสำคัญในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ไม่สวมถุงมือและรองเท้าบูทป้องกันขณะทำงาน สารเคมีการสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ การรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีสารเคมีปนเปื้อนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย ทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านหูแร่ หมู่ที่ 4 บ้านนายสีและหมู่ที่ 6 บ้านนาแสนมีประชากรรวมทั้งสิ้น 4,987 คน เป็นวัยทำงาน(15-59ปี)จำนวน 3,529 คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 2,164 คน คิดเป็นร้อยละ 65.71 ของวัยแรงงานทั้งหมด(ฐานจ้อมูล JHCIS รพ.สต.บ้านหูแร่) จากการสำรวจการใช้สารเคมีทางการเกษตรกรรมในครัวเรือน มีครัวเรือนในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 1,316 ครัวเรือน โดยมีการสำรวจครัวเรือนจำนวน 829 ครัวเรือน พบว่าเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมีทางการเกษตร 568 ครัวเรือน โดยเกษตรกรฉีดพ่นสารเคมีเอง 178 ครัวเรือน(ฐานข้อมูลโปรแกรมออนไลน์) การตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยใช้กระดาษทดสอบ โคลีนเอสเตอเลส(Cholinesterase reactive paper) เป็นเครื่องมือในการคัดกรองความเสี่ยงในเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช กลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตและคาร์บอเนต เพื่อคัดกรองว่าในการทำงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีของเกษตรกรนั้น เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในระดับใด แต่อาจยังไม่ส่งผลให้เกิดอาการแพ้พิษสารเคมีได้ ซึ่งจากการผลคัดกรองความเสี่ยงจะทำให้เกษตรกรเกิดความตระหนัก และนำไปสู่การแนะนำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่ว่าจะเป็นการ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การทำเกษตรอินทรีย์ หรือมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและสามารถป้องกันตนเองขณะใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช รพ.สต.บ้านหูแร่ได้มีการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซด์โคลีนเอสเตอร์เลส โดยมีผลการทดสอบดังนี้ ในปี 2561 จำนวน 156 คน พบว่าอยู่ในระดับปกติ 1 คน ระดับปลอดภัย 17 คน ระดับมีความเสี่ยง 57 คนและระดับไม่ปลอดภัย81 คน ในปี 2562 จำนวน 200 คน พบว่าอยู่ในระดับปกติ 9 คน ระดับปลอดภัย 22 คน ระดับความเสี่ยง 76 คนและระดับไม่ปลอดภัย 93 คน และในปี 2563 จำนวน 199 คนพบว่าอยู่ในระดับปกติ 8 คน ระดับปลอดภัย 29 คน ระดับความเสี่ยง 82 คน ระดับไม่ปลอดภัย80 คน จะเห็นได้ว่ามีอยู่ในระดับความเสี่ยงที่สูงมากจำเป็นจะต้องมีการดำเนินงานเพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ตระหนักถึงความจำเป็นในการจัดกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพเกษตรกรในชุมชน ประกอบด้วย การสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การสัมภาษณ์ด้วยแบบประเมินความเสี่ยง การเจาะเลือดตรวจคัดกรองเพื่อสีบค้นความผิดปกติในระยะเริ่มแรก เพื่อป้องกันและลดความสูญเสียจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และการจัดเวทีคืนข้อมูลให้แก่ชุมชน ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรเกี่ยวกับอันตรายจาการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช วิธีการป้องกันโรคและการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตัวเอง การวินิจฉัยและการรักษาเบื้องต้น การส่งต่อเพื่อพบแพทย์เฉพาะทาง และการแนะนำการใช้สมุนไพรลดล้างพิษ การให้คำปรึกษาฯลฯ ดังนั้นเพื่อผลสำเร็จในการดำเนินงานดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพตนเองอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมีในการเกษตร
  2. 2 เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกษตรกรและผู้บริโภคที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพตนเองอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมีในการเกษตร
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีความรู้และทักษะประเมิณ เฝ้าระวังสุขภาพตนเองอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมีในกลุ่มเกษตรกรร้อยละ 90
0.00 300.00

 

2 2 เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างโดยกระดาษทดสอบเอนไซด์โคลีนเอสเตอร์เลส
0.00 300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพตนเองอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมีในการเกษตร (2) 2 เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรปลอดโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหูแร่ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกิจ เถาถวิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด