เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ”
ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลร่มเมือง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง
ธันวาคม 2559
ชื่อโครงการ เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร
ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤศจิกายน 2559 ถึง 26 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร
บทคัดย่อ
โครงการ " เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤศจิกายน 2559 - 26 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ไม่สวมถุงมือและรองเท้าบู๊ท ป้องกันขณะทำงานกับสารเคมี การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้นยกตัวอย่างเช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที เป็นต้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น
ตำบลร่มเมืองเป็นตำบลหนึ่ง ที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้และสวนยางพาราผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงอยู่ และจากการตรวจเลือดเกษตรกร ปี ๒๕๕๙มีจำนวนผู้เข้ารับการตรวจ จำนวน๗๘๕ คนจากที่กำหนดไว้เป้าหมายไว้ที่ จำนวน ๕๐๐ คน พบว่ามีผลการตรวจ ไม่ปลอดภัย จำนวน ๑๕๔ คนเสี่ยง จำนวน ๒๘๙ คนปลอดภัย จำนวน ๒๑๓ คน และปกติ จำนวน ๑๒๙ คน
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรในตำบลร่มเมือง ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นสถานีอนามัยบ้านลำ จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลร่มเมือง จึงได้จัดทำโครงการสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลร่มเมือง ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ
- ๒. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร
- ๓. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลร่มเมือง
๒. เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของเกษตรกร
๓. เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษ และวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมาณสารโคลืนเอสเตอเรส ม.๑ & ๓
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
๑. จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ โดยทีม อสม.
๒. เตรียม เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโดยการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส
๓. ประสานกับหมู่บ้านในพื้นที่ เพื่อเตรียมการและวางแผนการดำเนินงานตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้าง
๔. ดำเนินการตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร ตามวัน และเวลาที่นัดหมาย
๕. แจ้งผลการตรวจพร้อมคำแนะนำที่ถูกต้องของการดูแลสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๑ จำนวน ๑๐๐ คน ไม่ปลอดภัย ๔๔ คน เสี่ยง ๔๓ คน ปลอดภัย ๑๓ คน ปกติ ๐ คน และ หมู่ที่ ๓ จำนวน ๖๖ คน ไม่ปลอดภัย ๑๔ คน เสี่ยง ๒๙ คน ปลอดภัย ๑๙ คน ปกติ ๔ คน
200
166
2. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๒
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๒ จำนวน ๑๑๕ คน ไม่ปลอดภัย ๓๓ คน เสี่ยง ๔๕ คน ปลอดภัย ๓๖ คน ปกติ ๑ คน
100
115
3. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๔
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๔ จำนวน ๒๔๗ คน ไม่ปลอดภัย ๑๔ คน เสี่ยง ๒๙ คน ปลอดภัย ๑๙ คน ปกติ ๔ คน
200
66
4. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๕
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๕ จำนวน ๒๔๗ คน ไม่ปลอดภัย ๓๗ คน เสี่ยง ๗๕ คน ปลอดภัย ๙๔ คน ปกติ ๔๑ คน
100
247
5. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๖
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๖ จำนวน ๙๑ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๓ คน เสี่ยง ๒๕ คน ปลอดภัย ๕๓ คน ปกติ ๑๐ คน
100
0
6. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๗
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๗ จำนวน ๑๑๒ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๖ คน เสี่ยง ๓๙ คน ปลอดภัย ๕๓ คน ปกติ ๑๖ คน
100
0
7. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๘ & ๙
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หมู่ที่ ๘ จำนวน ๙๕ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๕ คน เสี่ยง ๓๔ คน ปลอดภัย ๔๑ คน ปกติ ๑๕ คน
หมู่ที่ ๙ จำนวน ๑๐๐ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๑๐ คน เสี่ยง ๓๑ คน ปลอดภัย ๓๙ คน ปกติ ๒๐ คน
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร
ตามโครงการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกรประจำปี ๒๕๕๙
หมู่ที่ จำนวน (คน) ไม่ปลอดภัย เสี่ยง ปลอดภัย ปกติ
๑ ๑๐๐ ๔๔ ๔๓ ๑๓ -
๒ ๑๑๕ ๓๓ ๔๕ ๓๖ ๑
๓ ๖๖ ๑๔ ๒๙ ๑๙ ๔
๔ ๒๔๗ ๓๗ ๗๕ ๙๔ ๔๑
๕ ๘๕ ๒ ๒๐ ๔๗ ๑๕
๖ ๙๑ ๓ ๒๕ ๕๓ ๑๐
๗ ๑๑๒ ๖ ๓๙ ๕๓ ๑๖
๘ ๙๕ ๕ ๓๔ ๔๑ ๑๕
๙ ๑๐๐ ๑๐ ๓๑ ๓๙ ๒๐
รวม ๑,๐๑๒ ๑๕๔ ๓๔๑ ๓๙๕ ๑๒๒
คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๒ ๓๓.๗๐ ๓๙.๐๓ ๑๒.๐๕
จากตารางผลการตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือดของเกษตรกร จะพบว่า จากกลุ่มประชากรที่ได้รับการตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด ๑,๐๑๒ คน จากประชากรทั้งหมดของตำบลร่มเมืองในจำนวน ๙ หมู่บ้าน คือ ๕,๒๔๗ คน โดยกลุ่มที่เข้ารับการตรวจวิเคราะห์จะอยู่ในช่วงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป และเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ซึ่งจะเห็นว่าในโครงการตั้งเป้าหมายในการตรวจวิเคราะห์ไว้ ๙๐๐ คน ด้วยความสมัครใจ แต่เมื่อเริ่มโครงการจนเสร็จสิ้นกลับมีประชาชนให้ความสนใจในการหาสารเคมีตกค้างในเลือดเกินเป้าหมาย นั่นคือ คิดเป็น ร้อยละ ๑๑๒.๔ นั่นคือประชาชนเริ่มให้ความสำคัญและตระหนักในการตรวจสอบ ติดตาม สุขภาพของตนเองเพิ่มมากขึ้น แต่ทั้งนี้ จะยังคงพบว่าผลการตรวจสารพิษตกค้างในเลือดกลุ่มสารพิษโคลีนเอสเตอเรส ที่มีผลไม่ปลอดภัยรวมกับผลที่เสี่ยง มีจำนวน ๔๙๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๙ ในขณะที่ผลของกลุ่มปกติและกลุ่มปลอดภัย มีจำนวน ๕๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑ จะเห็นว่ามีผลที่ใกล้เคียงกันมาก ดังนั้น จึงเป็นข้อมูลเบื้องต้นชุดหนึ่งที่จะต้องมีการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น
แผนภูมิแสดงผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดโดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส
จากการวิเคราะห์ ผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนในตำบลร่มเมืองแสดงให้เห็นว่าประชาชนในพื้นที่หมู่ ๑, ๒, ๓ และ ๔ มีความเสี่ยงค่อนข้างสูงโดยเฉพาะหมู่ที่ ๑ , ๒ และ ๓ ซึ่งสาเหตุอาจมาจากพฤติกรรมการบริโภค และการใช้สารเคมีในการปลูกพืชผักอันจะนำไปสู่การเกิดโรคได้ เช่นโรคมะเร็งและโรคอื่นๆตามมาส่วนประชาชนในพื้นที่ ม.๕, ๖, ๗, ๘ และ ๙ จะมีความเสี่ยงน้อยมาก แสดงให้เห็นว่าประชาชนทั้ง ๕ หมู่นั้น เอาใจใส่กับพฤติกรรมการบริโภคและการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน
ปัญหาและอุปสรรค
๑. ทีมในการตรวจวิเคราะห์มีจำนวนจำกัดนั่นคือ ๒ ท่าน ต่อ ๑ ชุดการตรวจ ทำให้ทีมทำงานมีภาวะล้าของนิ้วที่ทำการหัก tube เพื่อนำเซรั่มออกมา
๒. ปริมาณของเลือดที่เจาะมาเพื่อตรวจวิเคราะห์มีปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อการตรวจหา
๓. ชุดทดสอบกระดาษที่ใช้ตรวจหาสารโคลืนเอสเตอเรส มีจำนวนจำกัดไม่เพียงพอต่อความต้องการรับตรวจของประชาชน
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรเพิ่มจำนวนทีมทำงานในภาคสนามเพื่อการปฏิบัติการตรวจหาสารโคลีนเอสเตอรเรส จาก ๒ คน เป็น ๓ – ๔ คน เพื่อช่วยในการจับเวลา และตรวจสอบการอ่านผล
๒. ควรมีการเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
๓. ควรนำชุดข้อมูลผลการตรวจไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนางานสาธารณสุขในการส่งเสริมสุขภาพประชาชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
2
๒. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร
ตัวชี้วัด :
3
๓. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ (2) ๒. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร (3) ๓. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( เทศบาลตำบลร่มเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ”
ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลร่มเมือง
ธันวาคม 2559
ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-2-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 พฤศจิกายน 2559 ถึง 26 ธันวาคม 2559
กิตติกรรมประกาศ
"เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร
บทคัดย่อ
โครงการ " เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3360-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 พฤศจิกายน 2559 - 26 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลัน และเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ไม่สวมถุงมือและรองเท้าบู๊ท ป้องกันขณะทำงานกับสารเคมี การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ และการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีเพิ่มขึ้นยกตัวอย่างเช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที เป็นต้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น
ตำบลร่มเมืองเป็นตำบลหนึ่ง ที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนา ทำไร่ ทำสวนผลไม้และสวนยางพาราผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงและสูงอยู่ และจากการตรวจเลือดเกษตรกร ปี ๒๕๕๙มีจำนวนผู้เข้ารับการตรวจ จำนวน๗๘๕ คนจากที่กำหนดไว้เป้าหมายไว้ที่ จำนวน ๕๐๐ คน พบว่ามีผลการตรวจ ไม่ปลอดภัย จำนวน ๑๕๔ คนเสี่ยง จำนวน ๒๘๙ คนปลอดภัย จำนวน ๒๑๓ คน และปกติ จำนวน ๑๒๙ คน
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงว่าเกษตรกรในตำบลร่มเมือง ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นสถานีอนามัยบ้านลำ จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลร่มเมือง จึงได้จัดทำโครงการสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร ขึ้นเพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลร่มเมือง ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ
- ๒. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร
- ๓. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลร่มเมือง ๒. เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของเกษตรกร ๓. เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษ และวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมาณสารโคลืนเอสเตอเรส ม.๑ & ๓ |
||
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ๑. จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ โดยทีม อสม.
๒. เตรียม เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองโดยการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๑ จำนวน ๑๐๐ คน ไม่ปลอดภัย ๔๔ คน เสี่ยง ๔๓ คน ปลอดภัย ๑๓ คน ปกติ ๐ คน และ หมู่ที่ ๓ จำนวน ๖๖ คน ไม่ปลอดภัย ๑๔ คน เสี่ยง ๒๙ คน ปลอดภัย ๑๙ คน ปกติ ๔ คน
|
200 | 166 |
2. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๒ |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๒ จำนวน ๑๑๕ คน ไม่ปลอดภัย ๓๓ คน เสี่ยง ๔๕ คน ปลอดภัย ๓๖ คน ปกติ ๑ คน
|
100 | 115 |
3. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๔ |
||
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๔ จำนวน ๒๔๗ คน ไม่ปลอดภัย ๑๔ คน เสี่ยง ๒๙ คน ปลอดภัย ๑๙ คน ปกติ ๔ คน
|
200 | 66 |
4. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๕ |
||
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๕ จำนวน ๒๔๗ คน ไม่ปลอดภัย ๓๗ คน เสี่ยง ๗๕ คน ปลอดภัย ๙๔ คน ปกติ ๔๑ คน
|
100 | 247 |
5. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๖ |
||
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๖ จำนวน ๙๑ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๓ คน เสี่ยง ๒๕ คน ปลอดภัย ๕๓ คน ปกติ ๑๐ คน
|
100 | 0 |
6. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๗ |
||
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๗ จำนวน ๑๑๒ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๖ คน เสี่ยง ๓๙ คน ปลอดภัย ๕๓ คน ปกติ ๑๖ คน
|
100 | 0 |
7. เจาะเลือด & ตรวจหาปริมารสารโคลีนเอสเตอเรส ม.๘ & ๙ |
||
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหมู่ที่ ๘ จำนวน ๙๕ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๕ คน เสี่ยง ๓๔ คน ปลอดภัย ๔๑ คน ปกติ ๑๕ คน หมู่ที่ ๙ จำนวน ๑๐๐ คน ดังนี้ ไม่ปลอดภัย ๑๐ คน เสี่ยง ๓๑ คน ปลอดภัย ๓๙ คน ปกติ ๒๐ คน
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกลุ่มเกษตรกร ตามโครงการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกรประจำปี ๒๕๕๙
หมู่ที่ จำนวน (คน) ไม่ปลอดภัย เสี่ยง ปลอดภัย ปกติ ๑ ๑๐๐ ๔๔ ๔๓ ๑๓ - ๒ ๑๑๕ ๓๓ ๔๕ ๓๖ ๑ ๓ ๖๖ ๑๔ ๒๙ ๑๙ ๔ ๔ ๒๔๗ ๓๗ ๗๕ ๙๔ ๔๑ ๕ ๘๕ ๒ ๒๐ ๔๗ ๑๕ ๖ ๙๑ ๓ ๒๕ ๕๓ ๑๐ ๗ ๑๑๒ ๖ ๓๙ ๕๓ ๑๖ ๘ ๙๕ ๕ ๓๔ ๔๑ ๑๕ ๙ ๑๐๐ ๑๐ ๓๑ ๓๙ ๒๐ รวม ๑,๐๑๒ ๑๕๔ ๓๔๑ ๓๙๕ ๑๒๒ คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๒ ๓๓.๗๐ ๓๙.๐๓ ๑๒.๐๕
จากตารางผลการตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือดของเกษตรกร จะพบว่า จากกลุ่มประชากรที่ได้รับการตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด ๑,๐๑๒ คน จากประชากรทั้งหมดของตำบลร่มเมืองในจำนวน ๙ หมู่บ้าน คือ ๕,๒๔๗ คน โดยกลุ่มที่เข้ารับการตรวจวิเคราะห์จะอยู่ในช่วงอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป และเป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ซึ่งจะเห็นว่าในโครงการตั้งเป้าหมายในการตรวจวิเคราะห์ไว้ ๙๐๐ คน ด้วยความสมัครใจ แต่เมื่อเริ่มโครงการจนเสร็จสิ้นกลับมีประชาชนให้ความสนใจในการหาสารเคมีตกค้างในเลือดเกินเป้าหมาย นั่นคือ คิดเป็น ร้อยละ ๑๑๒.๔ นั่นคือประชาชนเริ่มให้ความสำคัญและตระหนักในการตรวจสอบ ติดตาม สุขภาพของตนเองเพิ่มมากขึ้น แต่ทั้งนี้ จะยังคงพบว่าผลการตรวจสารพิษตกค้างในเลือดกลุ่มสารพิษโคลีนเอสเตอเรส ที่มีผลไม่ปลอดภัยรวมกับผลที่เสี่ยง มีจำนวน ๔๙๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๘.๙ ในขณะที่ผลของกลุ่มปกติและกลุ่มปลอดภัย มีจำนวน ๕๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๑.๑ จะเห็นว่ามีผลที่ใกล้เคียงกันมาก ดังนั้น จึงเป็นข้อมูลเบื้องต้นชุดหนึ่งที่จะต้องมีการส่งเสริม พัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น
แผนภูมิแสดงผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดโดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส
จากการวิเคราะห์ ผลการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดของประชาชนในตำบลร่มเมืองแสดงให้เห็นว่าประชาชนในพื้นที่หมู่ ๑, ๒, ๓ และ ๔ มีความเสี่ยงค่อนข้างสูงโดยเฉพาะหมู่ที่ ๑ , ๒ และ ๓ ซึ่งสาเหตุอาจมาจากพฤติกรรมการบริโภค และการใช้สารเคมีในการปลูกพืชผักอันจะนำไปสู่การเกิดโรคได้ เช่นโรคมะเร็งและโรคอื่นๆตามมาส่วนประชาชนในพื้นที่ ม.๕, ๖, ๗, ๘ และ ๙ จะมีความเสี่ยงน้อยมาก แสดงให้เห็นว่าประชาชนทั้ง ๕ หมู่นั้น เอาใจใส่กับพฤติกรรมการบริโภคและการใช้สารเคมีในชีวิตประจำวัน
ปัญหาและอุปสรรค
๑. ทีมในการตรวจวิเคราะห์มีจำนวนจำกัดนั่นคือ ๒ ท่าน ต่อ ๑ ชุดการตรวจ ทำให้ทีมทำงานมีภาวะล้าของนิ้วที่ทำการหัก tube เพื่อนำเซรั่มออกมา
๒. ปริมาณของเลือดที่เจาะมาเพื่อตรวจวิเคราะห์มีปริมาณที่ไม่เพียงพอต่อการตรวจหา
๓. ชุดทดสอบกระดาษที่ใช้ตรวจหาสารโคลืนเอสเตอเรส มีจำนวนจำกัดไม่เพียงพอต่อความต้องการรับตรวจของประชาชน
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรเพิ่มจำนวนทีมทำงานในภาคสนามเพื่อการปฏิบัติการตรวจหาสารโคลีนเอสเตอรเรส จาก ๒ คน เป็น ๓ – ๔ คน เพื่อช่วยในการจับเวลา และตรวจสอบการอ่านผล
๒. ควรมีการเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมายให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
๓. ควรนำชุดข้อมูลผลการตรวจไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนางานสาธารณสุขในการส่งเสริมสุขภาพประชาชน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | ๓. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ (2) ๒. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร (3) ๓. เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เฝ้าระวังสารพิษตกค้างในเลือดเกษตรกร จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3360-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( เทศบาลตำบลร่มเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......