กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า


“ โครงการปลอดโรคปลอดภัยบริโภคผักปลอดสารพิษ ประจำปี 2566 ”

หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 และ ม.8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการปลอดโรคปลอดภัยบริโภคผักปลอดสารพิษ ประจำปี 2566

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 และ ม.8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3367-1-04 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2566 ถึง 25 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลอดโรคปลอดภัยบริโภคผักปลอดสารพิษ ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 และ ม.8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลอดโรคปลอดภัยบริโภคผักปลอดสารพิษ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลอดโรคปลอดภัยบริโภคผักปลอดสารพิษ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 และ ม.8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3367-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2566 - 25 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 79 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหารจากอดีตที่มีการจัดหาวัสดุอาหารมาดำเนินการปรุง การประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือน ในปัจจุบันมีการจัดตั้งแผงลอยจำหน่ายอาหารไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่ประชาชน สะดวกต่อการเลือกซื้อมาเพื่อการบริโภคทั้งในครัวเรือนหรือการจัดเลี้ยงอาหารในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ดังนั้นการควบคุมดูแลให้การประกอบกิจการ การจัดบริการอาหารโดยสถานประกอบการด้านอาหารเป็นไปอย่างเหมาะสม เน้นสะอาดและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค จึงเป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัมนายกระดับสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร การเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในสถานประกอบการด้านอาหารประเภทแผงลอยจำหน่ายอาหารร้านแผงลอยและร้านชำคุณภาพในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด รวม 19 ร้าน ซึ่งร้านที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำคุณภาพมีจำนวน 16 ร้าน คิดเป็นร้อยละ84.21และไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 3 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 15.79 และการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในโรงเรียน ทั้ง 2 โรงจึงเป็นเป้าหมายสำคัญที่ต้องมุ่งเน้นส่งเสริมให้มีการพัฒนาและยกระดับสถานประกอบการดังกล่าวให้เข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้โดยการตรวจแนะนำสถานประกอบการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง การพัฒนาตัวผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารที่เกี่ยวข้อง รวมไปถึงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ในการเลือกซื้อและการจัดบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อนที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหารดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ดได้เล็งเห็นถึงความสำคัญความปลอดภัยด้านอาหารและสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรจึงได้จัดทำโครงการปลอดโรคปลอดภัย บริโภคผักปลอดสารพิษลดเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
  2. เพิ่มครัวเรือนที่ทำเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์
  3. ร้านชำผ่านเกณฑ์คุณภาพเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจและประเมินร้านชำคุณภาพ
  2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก้ผู้ประกอบการร้านชำและแกนนำอสม.
  3. กิจกรรมให้ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือด
  4. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ
  5. ติดตามผลกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 41
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ประกอบการร้านชำ 19

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชลดลง/ปริมาณการใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพลดลง 2.ครัวเรือนในชุมชนทำเกษตรกรแบบปลอดภัย/อินทรีย์เพิ่มขึ้น 3.ร้านชำผ่านเกณฑ์คุณภาพทุกร้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐาน
14.20 10.00

 

2 เพิ่มครัวเรือนที่ทำเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ทำเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์
40.00 60.00

 

3 ร้านชำผ่านเกณฑ์คุณภาพเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านชำผ่านเกณฑ์คุณภาพ
16.00 19.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 41
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ประกอบการร้านชำ 19

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร (2) เพิ่มครัวเรือนที่ทำเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ (3) ร้านชำผ่านเกณฑ์คุณภาพเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและประเมินร้านชำคุณภาพ (2) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก้ผู้ประกอบการร้านชำและแกนนำอสม. (3) กิจกรรมให้ความรู้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือด (4) ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ (5) ติดตามผลกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลอดโรคปลอดภัยบริโภคผักปลอดสารพิษ ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3367-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด