กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์


“ โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566 ”

ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 9/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  2. ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  3. เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง
  4. เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง
  5. เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเดือนละ๑ครั้ง
  6. เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรม อสม.ผู้ปกครอง ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  2. ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ ๑ ครั้ง
  3. ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการ และเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือน ทุกราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 233
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยได้รับการเลี้ยงดูที่ถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้เด็กเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัยรัอยละ98
  2. อสม. และผู้ปกครอง มีความรู้ ทักษะประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย และมีการใช้คู้มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
  3. เด็กปฐมวัยได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการจำนวน30 คนและติดตามส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่สงสัยล่าช้า อย่างต่อเนื่องตามวัย ภายใน 1 เดือน ร้อยละ90
  4. เด็กปฐมวัยอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรม อสม.ผู้ปกครอง ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดดอบรม อสม.และผู้ปกครอง วันที่ 22 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวน มีอสม.เข้าร่วมประชุม 50 คน ผู้ปกครอง 30คน ได้รับการสนับนุนวิทยากรจาก รพ.ควนขนุน มาให้ตวามรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
โดยมีค่าใช้จ่าย 1.ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท 2.ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ ๆ ละ 25 บาท จำนวน 80 คน เป็นเงิน 2,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อสม.และผู้ปกครอง มีความรู้ ทักษะการประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย และสามารถใช้คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ร้อยละ 100 ของ อสม.และผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรม

 

0 0

2. ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ ๑ ครั้ง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย 0-5ปี จำนวน 233คน วันที่ 1กรกฎาคม 2566 โดย อสม.ติดตามชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง และรายงานผลไปยัง รพ.สต. ประเมินพัฒนาการเด็ก อายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 70 คน ณ รพ.สต.บ้านสีแยกไสยวน และ โดย อสม. ผู้ปกครอง (กรณี ไม่สามารถพาเด็กไป รพ.สต.ได้) โดยมีค่าใช้จ่าย 1.เอกสารแบบประเมินภาวะโภชนาการและพัฒนาการ เป็นเงิน 300บาท 2.ชุดประเมินพัฒนาการ (DSPM) 0-5ปี เป็นเงิน 4,000บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กปฐมวัย 0-5ปี จำนวน 233คน ได้รับการประเมินภาวะโภชานาการ ร้อยละ 100 2.เด็กปฐมวัย อายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน  ได้รับการประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง จำนวน 70คน ร้อยละ 100

 

0 0

3. ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการ และเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือน ทุกราย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ติดตามประเมินภาวะโภชนการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องโภชนาการ วันที่ 30 กันยายน 2566 โดย อสม.ชั่งน้ำหนักหนักวัดส่วนสูงซ้ำ หลังจากได้รับ นม และ ไข่ 2.ติดตามเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน ภายใน 1 เดือน ทุกราย โดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวน โดยมีค่าใช้จ่าย 1.ชุดส่งเสริมพัฒนาการ (DSPM) 0-5ปี 1ชุด เป็นเงิน 1,200บาท 2.นม ไข่ สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการผิกปกติ เป็นเงิน 30,000บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องโภชนาการ(น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์) ได้รับการติดตามโดย การชั่งน้ำหนักหนักวัดส่วนสูงซ้ำ หลังจากได้รับ นม และ ไข่ จำนวน 30 คน (ร้อยละ100) 2.เด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ จำนวน 14 คน (ร้อยละ 100)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยร้อยละ ๑๐๐
18.75 90.00

 

2 ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ร้อยละ 90
10.00 90.00

 

3 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง
70.00 98.00

 

4 เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง ร้อยละ๑๐๐
5.00 100.00

 

5 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเดือนละ๑ครั้ง
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง ร้อยละ ุ100
80.00 98.00

 

6 เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง ร้อยละ ๑๐๐
60.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 263
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 233
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) แกนนำ อสม.ได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยได้รับการได้รับการอบรมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและทำกิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3) เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ๓ เดือน/ครั้ง (4) เด็กปฐมวัย 0-5ปี มีภาวะพร่องโภชนาการได้รับการติดตามประเมินภาวะโภชนาการเดือนละ ๑ครั้ง (5) เด็กปฐมวัย 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเดือนละ๑ครั้ง (6) เด็กปฐมวัย 0-5 ปี สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการ  เดือนละ  ๑  ครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรม อสม.ผู้ปกครอง ให้ความรู้และทักษะการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (2) ประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย3 เดือน/ครั้ง และติดตามประเมินพัฒนาการ เด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือนเดือนละ ๑ ครั้ง (3) ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยที่มีภาวะพร่องภาวะโภชนาการ และเด็กปฐมวัยสงสัยพัฒนาการล่าช้า ภายใน 1 เดือน ทุกราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กปฐมวัยสุขภาพดี สูงดีสมส่วน พัฒนาการสมวัยชมรม อสม.ตำบลพนมวังก์ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด