กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์ ”

ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพัชรี น้อยเต็ม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 08 เลขที่ข้อตกลง L3364.01.07

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2542 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 (19) ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองโดยเฉพาะหน้าที่การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล รวมทั้งกิจการอื่นใดที่เป็นประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนดและสำหรับด้านสุขภาพของประชาชนการได้นำสาธารณสุขมูลฐานมาใช้ในชุมชนนับว่าเป็นกลไกที่สำคัญที่ต้องได้รับการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน

แกนนำสุขภาพ หมายถึง บุคลากรด้านสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยจะได้รับความรู้ผ่านกระบวนการอบรมให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะที่เป็นหน่วยงานภาครัฐ ที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดจึงเป็นองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้ประชาชนและชุมชนได้ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการมีส่วนร่วมในงานสาธารณสุขมูลฐานพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของแกนนำสุขภาพของประชาชนในตำบลลำสินธุ์ ซึ่งจากแนวคิดในปัจจุบัน ที่ส่งเสริมให้มีการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม มองสุขภาพในเชิงสุขภาวะ คือ สุขภาพเกี่ยวข้องกับทุกปัจจัย การพัฒนาสุขภาพต้องพัฒนาไปพร้อมๆกับการพัฒนาด้านอื่นด้วย ดังนั้น แกนนำสุขภาพจึงต้องเพิ่มบทบาท ความรับผิดชอบ และพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาคน ให้เป็นจุดศูนย์กลางของการพัฒนาและเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการทางสังคมและการเมืองมากยิ่งขึ้น
งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาแกนนำสุขภาพตำบลลำสินธุ์ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์ขึ้น เพื่อให้เกิดแกนนำ/เครือข่ายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลลำสินธุ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะทางวิชาการ ความเข้าใจแก่ แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างพื้นที่แก่แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน บูรณาการการทำงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดการสุขภาพประชาชนสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดแกนนำ/เครือข่ายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลลำสินธุ์
  2. เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะทางวิชาการ ความเข้าใจแก่ แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
  3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างพื้นที่แก่แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน โรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
  4. เพื่อบูรณาการการทำงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดการสุขภาพประชาชนสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
  2. กิจกรรมเรียนรู้นวัตกรรมด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม นอกสถานที่
  3. พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับหมู่บ้าน
  4. เวทีสรุปบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน ความสำเร็จและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 36
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดแกนนำ/เครือข่ายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลลำสินธุ์ 2.เกิดกลไกการพัฒนาเครือข่ายด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมที่เข้มแข็ง 3.แกนนำสุขภาพได้ประสบการณ์ด้านการดูแลสุขภาพประชาชนจนเกิดแนวคิดการในการพัฒนาระบบสุขภาพในตำบล
  2. แกนนำสุขภาพสามารถบูรณาการการทำงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดการสุขภาพประชาชนสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดแกนนำ/เครือข่ายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลลำสินธุ์
ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำ/เครือข่ายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลลำสินธุ์ ทั้ง 9หมู่บ้าน
7.00 9.00

 

2 เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะทางวิชาการ ความเข้าใจแก่ แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพมีความรู้ ทักษะทางวิชาการ ความเข้าใจในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชนเพิ่มขึ้น
80.00 90.00

 

3 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างพื้นที่แก่แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน โรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
ตัวชี้วัด : ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน โรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชนต่างพื้นที่ สามารถนำมาปรับใช้กับชุมชนของตนเองได้
82.00 90.00

 

4 เพื่อบูรณาการการทำงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดการสุขภาพประชาชนสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เกิดการบูรณาการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดการสุขภาพประชาชนสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม
82.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 36
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 36
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดแกนนำ/เครือข่ายการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลลำสินธุ์ (2) เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะทางวิชาการ ความเข้าใจแก่ แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ  ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (3) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างพื้นที่แก่แกนนำสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน โรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (4) เพื่อบูรณาการการทำงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดการสุขภาพประชาชนสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (2) กิจกรรมเรียนรู้นวัตกรรมด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม นอกสถานที่ (3) พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับหมู่บ้าน (4) เวทีสรุปบทเรียน สรุปผลการดำเนินงาน ความสำเร็จและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ตำบลลำสินธุ์ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัชรี น้อยเต็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด