โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
1,000 วันแรกของชีวิต เริ่มตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงเด็กอายุ 2 ปี เป็นช่วงเวลาสำคัญแห่ง กระบวนการพัฒนาการทางร่างกาย ทางสมอง อารมณ์และสังคม ส่งผลต่อทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ภาวะเตี้ย ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการไม่สมวัย เนื่องจากเป็นช่วงที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง โดยการเพิ่มเซลล์ สมอง ควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับกระบวนการ กิน นอน กอด เล่น เล่า จะทำให้ทารกเจริญเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด ผลการดำเนินงานคุณภาพด้านแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า จาก HDC ในปี พ.ศ. 2565 พบประเด็นเกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ได้แก่ 1.การฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.การฝากครรภ์ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 72,41 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับ ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 4.เด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7.32 5.พัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 100 และปัญหาการตั้งครรภ์ในสตรีอายุต่ำกว่า 20 ปี เป็นปัญหาที่ควรติดตามเพราะการตั้งครรภ์ในกลุ่มสตรี นี้ของประเทศไทย มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ การตั้งครรภ์ในอายุต่ำกว่า 20 ปี นั้นทั้ง ที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตามมีปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้แก่เพิ่มความเสี่ยงทางด้านสุขภาพของมารดา รวมถึงการติด เชื้อทางเพศสัมพันธ์และมารดามักมีปัญหาในการตั้งครรภ์ เช่น ภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง การ คลอดก่อนกำหนด การคลอดยาก ตกเลือดหลังคลอด บุตรไม่แข็งแรง ทารกน้ำหนักน้อย มีความบกพร่องใน ระบบประสาท ทางการศึกษา พบว่ามารดาที่ตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่จะจบการศึกษาช้ากว่า เพื่อนวัยเดียวกัน บางคนหยุดเรียนและเรียนไม่จบ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ บางคนไม่มีอาชีพ แต่ต้องคลอดลูก ออกมาเป็นภาระเลี้ยงดูบุตร ปัญหาทางด้านการหย่าร้าง เพราะสตรีกลุ่มนี้เป็นวัยที่ขาดความพร้อมทางด้านวุฒิ ภาวะ ทางสังคม และเศรษฐกิจ สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาสัมพันธภาพในครอบครัว
ผลกระทบต่อทารก การตั้งครรภ์ของสตรีกลุ่มนี้ ส่งผลให้เกิดการคลอดทารกน้ำหนักน้อยและอัตราการ ตายคลอดสูง ซึ่งอาจเกิดมาจากการไม่มาฝากครรภ์ หรือมาฝากครรภ์ไม่ตรงตามนัด ภาวะโภชนาการและ พฤติกรรมไม่เหมาะสม ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า การสำรวจพบว่ามีสตรีอายุ น้อยกว่า 20 ปี มีการฝากครรภ์ในช่วงปี 2565 จำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.75 ซึ่งมาจากมีเพศสัมพันธ์และแต่งงานเร็ว มีการคุมกำเนิดน้อยจากมารดาในกลุ่มอายุนี้พบว่ามีน้ำหนักแรกคลอด ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และมีการพัฒนาการช้ากว่าปกติ ยังพบอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจมากกว่า เด็กที่เกิดจากมารดาอายุ 20 ปีขึ้นไป อาจขาดการดูแลลูกที่ถูกต้อง บางคนฝากให้ญาติหรือคนอื่นเลี้ยง ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อพัฒนาสตรี เด็กปฐมวัย แม่เกิดรอด ลูก ปลอดภัย เด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพดีต่อไป รวมทั้งป้องกันการตั้งครรภ์เตรียมความพร้อมในการมีบุตรในกรณีหญิง อายุน้อยกว่า 20 ปีและป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ในสตรีกลุ่มนี้มีอีกด้วย และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็กแรกเกิดถึงอายุ 2 ปี โรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลหนองเหล่าจึงได้จัดดำเนินโครงการ/กิจกรรมนี้ขึ้น จึงขอเสนอโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต เพื่อขอรับการสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหล่า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
- เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
- เพื่อให้เด็กทารกแรกเกิด ถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและการส่งเสริมด้านโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ก่อนดำเนินการ
- 2. ขั้นดำเนินงาน
- 3. ขั้นหลังดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
24
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพตามเกณฑ์ ร้อยละ 80
- หญิงหลังคลอดได้รับการดูแล ร้อยละ 80
- แม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน ร้อยละ 80
- เด็กทารกแรกเกิดถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและส่งเสริมด้านโภชนาการ ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
46.15
80.00
2
เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น
30.77
80.00
3
เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
42.11
80.00
4
เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
13.79
80.00
5
เพื่อให้เด็กทารกแรกเกิด ถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและการส่งเสริมด้านโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กทารกแรกเกิดถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและส่งเสริมด้านโภชนาการ ร้อยละ 80
42.11
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
24
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
24
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (5) เพื่อให้เด็กทารกแรกเกิด ถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและการส่งเสริมด้านโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ก่อนดำเนินการ (2) 2. ขั้นดำเนินงาน (3) 3. ขั้นหลังดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล 1,000 วันแรกของชีวิต เริ่มตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงเด็กอายุ 2 ปี เป็นช่วงเวลาสำคัญแห่ง กระบวนการพัฒนาการทางร่างกาย ทางสมอง อารมณ์และสังคม ส่งผลต่อทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ภาวะเตี้ย ภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการไม่สมวัย เนื่องจากเป็นช่วงที่มีกระบวนการสร้างเซลล์สมอง โดยการเพิ่มเซลล์ สมอง ควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด การได้รับโภชนาการที่เหมาะสมร่วมกับกระบวนการ กิน นอน กอด เล่น เล่า จะทำให้ทารกเจริญเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูงในที่สุด ผลการดำเนินงานคุณภาพด้านแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า จาก HDC ในปี พ.ศ. 2565 พบประเด็นเกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ได้แก่ 1.การฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.การฝากครรภ์ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 72,41 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับ ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 4.เด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7.32 5.พัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 100 และปัญหาการตั้งครรภ์ในสตรีอายุต่ำกว่า 20 ปี เป็นปัญหาที่ควรติดตามเพราะการตั้งครรภ์ในกลุ่มสตรี นี้ของประเทศไทย มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ การตั้งครรภ์ในอายุต่ำกว่า 20 ปี นั้นทั้ง ที่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตามมีปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้แก่เพิ่มความเสี่ยงทางด้านสุขภาพของมารดา รวมถึงการติด เชื้อทางเพศสัมพันธ์และมารดามักมีปัญหาในการตั้งครรภ์ เช่น ภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง การ คลอดก่อนกำหนด การคลอดยาก ตกเลือดหลังคลอด บุตรไม่แข็งแรง ทารกน้ำหนักน้อย มีความบกพร่องใน ระบบประสาท ทางการศึกษา พบว่ามารดาที่ตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 20 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่จะจบการศึกษาช้ากว่า เพื่อนวัยเดียวกัน บางคนหยุดเรียนและเรียนไม่จบ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ บางคนไม่มีอาชีพ แต่ต้องคลอดลูก ออกมาเป็นภาระเลี้ยงดูบุตร ปัญหาทางด้านการหย่าร้าง เพราะสตรีกลุ่มนี้เป็นวัยที่ขาดความพร้อมทางด้านวุฒิ ภาวะ ทางสังคม และเศรษฐกิจ สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาสัมพันธภาพในครอบครัว ผลกระทบต่อทารก การตั้งครรภ์ของสตรีกลุ่มนี้ ส่งผลให้เกิดการคลอดทารกน้ำหนักน้อยและอัตราการ ตายคลอดสูง ซึ่งอาจเกิดมาจากการไม่มาฝากครรภ์ หรือมาฝากครรภ์ไม่ตรงตามนัด ภาวะโภชนาการและ พฤติกรรมไม่เหมาะสม ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า การสำรวจพบว่ามีสตรีอายุ น้อยกว่า 20 ปี มีการฝากครรภ์ในช่วงปี 2565 จำนวน 4 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.75 ซึ่งมาจากมีเพศสัมพันธ์และแต่งงานเร็ว มีการคุมกำเนิดน้อยจากมารดาในกลุ่มอายุนี้พบว่ามีน้ำหนักแรกคลอด ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และมีการพัฒนาการช้ากว่าปกติ ยังพบอัตราป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจมากกว่า เด็กที่เกิดจากมารดาอายุ 20 ปีขึ้นไป อาจขาดการดูแลลูกที่ถูกต้อง บางคนฝากให้ญาติหรือคนอื่นเลี้ยง ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อพัฒนาสตรี เด็กปฐมวัย แม่เกิดรอด ลูก ปลอดภัย เด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพดีต่อไป รวมทั้งป้องกันการตั้งครรภ์เตรียมความพร้อมในการมีบุตรในกรณีหญิง อายุน้อยกว่า 20 ปีและป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ในสตรีกลุ่มนี้มีอีกด้วย และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็กแรกเกิดถึงอายุ 2 ปี โรงพยาบาลส่งเริมสุขภาพตำบลหนองเหล่าจึงได้จัดดำเนินโครงการ/กิจกรรมนี้ขึ้น จึงขอเสนอโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต เพื่อขอรับการสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหล่า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
- เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
- เพื่อให้เด็กทารกแรกเกิด ถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและการส่งเสริมด้านโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ก่อนดำเนินการ
- 2. ขั้นดำเนินงาน
- 3. ขั้นหลังดำเนินการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 24 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพตามเกณฑ์ ร้อยละ 80
- หญิงหลังคลอดได้รับการดูแล ร้อยละ 80
- แม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน ร้อยละ 80
- เด็กทารกแรกเกิดถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและส่งเสริมด้านโภชนาการ ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น) |
46.15 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น |
30.77 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น |
42.11 | 80.00 |
|
|
4 | เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น |
13.79 | 80.00 |
|
|
5 | เพื่อให้เด็กทารกแรกเกิด ถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและการส่งเสริมด้านโภชนาการ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กทารกแรกเกิดถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและส่งเสริมด้านโภชนาการ ร้อยละ 80 |
42.11 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 24 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 24 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน (5) เพื่อให้เด็กทารกแรกเกิด ถึง 2 ปี ได้รับการติดตามประเมินพัฒนาการและการส่งเสริมด้านโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ก่อนดำเนินการ (2) 2. ขั้นดำเนินงาน (3) 3. ขั้นหลังดำเนินการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......