โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการเหตุผล
การดำเนินงานด้านสาธารณสุขในชุมชน จำเป็นต้องมีเครือข่ายสุขภาพที่สำคัญ คือ อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน หรือ อสม.ที่ให้บริการแก่ชุมชนเป็นรูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน อสม. คือประชาชนในหมู่บ้าน ที่มีใจรักในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข สมัครใจ และเต็มใจ ที่จะช่วยงานในชุมชนเป็นที่ยอมรับนับถือของชาวบ้านปฏิบัติงานด้วยความเสียสละซึ่งต้องผ่าน กระบวนการอบรมให้ความรู้ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างสม่ำเสมอและจะต้องมีการพัฒนาด้านทักษะความรู้ให้ ทันต่อสภาพปัญหาด้านสาธารณสุข ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยเฉพาะในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน โรคและการรักษาพยาบาลเบื้องต้นตลอดจนเป็นผู้นำในการสร้างสุขภาพให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อให้ชุมชน สามารถจัดระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพชุมชนได้อย่างเหมาะสม ด้วยชุมชนเอง ภายใต้การสนับสนุนจาก หน่วยงานต่างๆในพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และ องค์กรต่างๆ
ปัจจุบันสถานภาพด้านสุขภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โรคต่างๆมีการเปลี่ยนแปลง รวม ไปถึงโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนมีเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคอัมพฤกษ์อัมพาต ทั้งที่เป็นโรคติดต่อและไม่ติดต่อ เป็นต้น การปฏิบัติงาน ของอสม.ในชุมชน จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมความรู้ ด้านวิชาการ ทักษะ การปฏิบัติงาน อย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการศึกษาดูงาน เพื่อหา ประสบการณ์ต่างๆ ให้สามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานดูแลประชาชนในชุมชน ตาม กลุ่มเป้าหมายที่จำเป็นต่างๆในพื้นที่
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลหนองเหล่า จึงจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำด้านสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) จำนวน 123 คน สังกัดเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เสริมสร้างความเชื่อมั่น เป็นขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานสุขภาพชุมชน การเฝ้าระวังและการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นอย่างต่อเนื่องแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
- เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน
- เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
- เพื่อให้เกิดการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
123
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
- เกิดระบบการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
- ประชาชนได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรค
- ประชาชนได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ
วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กับ อสม. ตามหลักสูตร โดยวิธีการบรรยาย อภิปราย สาธิต ฝึกปฏิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กับ อสม. ตามหลักสูตร โดยวิธีการบรรยาย อภิปราย สาธิต ฝึกปฏิบัติ
123
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นอย่างต่อเนื่องแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
76.97
80.00
80.00
2
เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละการเกิดระบบการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
70.00
80.00
80.00
3
เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก
75.12
80.00
80.00
4
เพื่อให้เกิดการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรค
56.13
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
123
123
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
123
123
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นอย่างต่อเนื่องแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ (2) เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (3) เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง (4) เพื่อให้เกิดการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการเหตุผล
การดำเนินงานด้านสาธารณสุขในชุมชน จำเป็นต้องมีเครือข่ายสุขภาพที่สำคัญ คือ อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน หรือ อสม.ที่ให้บริการแก่ชุมชนเป็นรูปแบบหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว และชุมชน อสม. คือประชาชนในหมู่บ้าน ที่มีใจรักในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข สมัครใจ และเต็มใจ ที่จะช่วยงานในชุมชนเป็นที่ยอมรับนับถือของชาวบ้านปฏิบัติงานด้วยความเสียสละซึ่งต้องผ่าน กระบวนการอบรมให้ความรู้ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างสม่ำเสมอและจะต้องมีการพัฒนาด้านทักษะความรู้ให้ ทันต่อสภาพปัญหาด้านสาธารณสุข ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยเฉพาะในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน โรคและการรักษาพยาบาลเบื้องต้นตลอดจนเป็นผู้นำในการสร้างสุขภาพให้แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อให้ชุมชน สามารถจัดระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพชุมชนได้อย่างเหมาะสม ด้วยชุมชนเอง ภายใต้การสนับสนุนจาก หน่วยงานต่างๆในพื้นที่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และ องค์กรต่างๆ
ปัจจุบันสถานภาพด้านสุขภาพของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โรคต่างๆมีการเปลี่ยนแปลง รวม ไปถึงโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนมีเพิ่มมากขึ้น เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคอัมพฤกษ์อัมพาต ทั้งที่เป็นโรคติดต่อและไม่ติดต่อ เป็นต้น การปฏิบัติงาน ของอสม.ในชุมชน จำเป็นต้องมีการฝึกอบรมความรู้ ด้านวิชาการ ทักษะ การปฏิบัติงาน อย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการศึกษาดูงาน เพื่อหา ประสบการณ์ต่างๆ ให้สามารถนำสิ่งที่ได้รับมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานดูแลประชาชนในชุมชน ตาม กลุ่มเป้าหมายที่จำเป็นต่างๆในพื้นที่
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลหนองเหล่า จึงจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่แกนนำด้านสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) จำนวน 123 คน สังกัดเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเหล่า ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เสริมสร้างความเชื่อมั่น เป็นขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานสุขภาพชุมชน การเฝ้าระวังและการดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นอย่างต่อเนื่องแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่
- เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน
- เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
- เพื่อให้เกิดการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 123 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
- เกิดระบบการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
- ประชาชนได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรค
- ประชาชนได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ |
||
วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กับ อสม. ตามหลักสูตร โดยวิธีการบรรยาย อภิปราย สาธิต ฝึกปฏิบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้กับ อสม. ตามหลักสูตร โดยวิธีการบรรยาย อภิปราย สาธิต ฝึกปฏิบัติ
|
123 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นอย่างต่อเนื่องแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง |
76.97 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละการเกิดระบบการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน |
70.00 | 80.00 | 80.00 |
|
3 | เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนได้รับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก |
75.12 | 80.00 | 80.00 |
|
4 | เพื่อให้เกิดการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรค |
56.13 | 80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 123 | 123 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 123 | 123 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นอย่างต่อเนื่องแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาสาธารณสุขของพื้นที่ (2) เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (3) เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้มีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง (4) เพื่อให้เกิดการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลหนองเหล่า ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......