กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี


“ โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนี นอจิ

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3030-01-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3030-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นหนึ่งในบริการอนามัยแม่และเด็กเพื่อเป็นการส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอดกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพจากบุคลากรทางการแพทย์อย่างน้อย 8 ครั้งและเน้นย้ำการมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เพื่อให้สามารถประเมินความเสี่ยงในไตรมาสแรกและแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์ที่อาจส่งผลเสียต่อมารดาและทารก ลดอัตราตายของมารดาทารกได้การฝากครรภ์ช้าจะส่งผลให้เกิดความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่นภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ภาวะคลอดก่อนกำหนดทารกน้ำหนักตัวน้อยและโรคที่เป็นความเสี่ยงที่ต้องอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์นอกจากนี้ในภาวะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์จะเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ และสังคมทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวลได้จากผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2565พบว่าหญิงตั้งครรภ์ตำบลปิตูมุดี มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 78.26 ( 18 ราย ) หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 75 ( 20 ราย ) ทารกน้ำหนักน้อยร้อยละ 3.23และหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ 12.1 อีกทั้งหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหลายด้าน เพราะมารดาตั้งครรภ์ในช่วงวัยรุ่นยังขาดประสบการณ์และความรู้ในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ เป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตพัฒนาการทางสมอง และระบบประสาทของเด็ก ส่งผลให้เด็กมีปัญหาด้านพัฒนาการ สติปัญญา พฤติกรรมและอารมณ์ตามมารวมถึงกระทบต่อปัญหาสุขภาพจิตและสังคมของหญิงตั้งครรภ์เองอีกด้วยจากการวิเคราะห์สาเหตุการมาฝากครรภ์ล่าช้าส่งผลให้ไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐาน พบว่าหญิงตั้งครรภ์ไม่ทราบถึงความสำคัญหรือประโยชน์ของการมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และการประชาสัมพันธ์การมาฝากครรภ์ในชุมชนยังไม่ทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
  2. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ในชุมชน ตำบล ปิตูมุดี
  3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามหญิงหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดเพื่อมารับบริก ารฝากครรภ์ตามเกณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เครือข่าย อสม. สมาชิกชมรมนมแม่อาสามีศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการฝากครรภ์และสามารถประชาสัมพันธ์ในชุมชนได้ 2.อัตราการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ตัวชี้วัด 3.อัตราการมาฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ 4.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (2) กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์การมาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ในชุมชน ตำบล ปิตูมุดี (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามหญิงหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และหญิงตั้งครรภ์ที่ขาดนัดเพื่อมารับบริก ารฝากครรภ์ตามเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์คุณภาพทารกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลปิตูมุดี ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3030-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไซนี นอจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด