กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กตำบลปิตูมุดี ปี 2566 ”

ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอิบตีซาม เจ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กตำบลปิตูมุดี ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3030-01-04 เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กตำบลปิตูมุดี ปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กตำบลปิตูมุดี ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กตำบลปิตูมุดี ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3030-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคมือ เท้า ปากเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข ติดต่อจากคนสู่คนโดยเฉพาะในเด็กเล็ก มักพบในช่วงฤดูฝนสาเหตุเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอนเทอโรหลายชนิดอาจมีอาการรุนแรงถึงเสียชีวิตได้ โรคนี้ยังไม่มีวัคซีนป้องกันแต่ป้องกันได้โดยการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ดี เช่นการล้างมือด้วยสบู่เป็นประจำก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่ายรวมถึงการไม่คลุกคลีใกล้ชิดแลละใช้ของร่วมกับผู้ป่วยร่วมกับการรักษาความสะอาดทั่วๆ ไป การจัดการสิ่งแวดล้อม ห้องน้ำห้องส้วม ห้องครัวห้องเรียนให้ถูกสุขลักษณะสุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมทางด้านร่างกายจิตใจ สังคม และสติปัญญา ทั้งนี้ปัญหาโรคมือ เท้า ปากนั้นจะก่อให้เกิดผลกระทบทั้งสุขภาพร่างกายและการหยุดเรียนของเด็กแต่ปัญหาโรคมือ เท้า ปากเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันและควบคุมได้เพื่อไม่ให้ลุกลามและรุนแรงต่อไป โดยต้องอาศัยการดูแลความสะอาดจากผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กประกอบกับเด็กวัยนี้เป็นวัยที่เหมาะสมในการปลูกฝังสุขนิสัยการล้างมือที่ถูกวิธีทุกครั้งก่อนรับประทานอาหารละหลังการขับถ่าย จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506) อำเภอยะรัง ปี2565 มีผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก จำนวน 21 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 23.33. ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต และ ตำบลปิตูมุดี มีผู้ป่วยจำนวน 6 ราย อัตราป่วย 96.77 ต่อประชากรแสนคนมีแนวโน้มการระบาดของโรค เพิ่มสูงขึ้นในช่วงปีที่ผ่านมา ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะรังได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปิตูมุดี จึงได้จัดทำโครงการ“เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็ก ตำบลปิตูมุดี ปี2566 ” ขึ้น เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการการป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปากในเด็ก
  2. กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องการการป้องกันควบคุมโรคมือท้าปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และในชุมชน พร้อมติดตามตรวจสุขภาพเด็กในศูนย์เด็กเล็กตำบลปิตูมุดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปลอดภัยจากโรคมือ เท้า ปาก
  2. ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก
  3. แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก และสามารถคักกรองโรคมือเท้าปากในชุมชนได้
  4. สามารถส่งเสริมกิจกรรมเฝ้าระวังโรคมือ เท้า ปากซึ่งเป็นโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  5. สามารถเผยแพร่คำแนะนำ การดูแลสุขภาพ เรื่องโรคมือ เท้าปาก แก่ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองนักเรียน
  6. สามารถส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยที่ช่วยป้องกันโรคติดต่อโดยเฉพาะการล้างมือ และการรักษาสุขอนามัยสภาพแวดล้อม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการการป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปากในเด็ก (2) กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องการการป้องกันควบคุมโรคมือท้าปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และในชุมชน พร้อมติดตามตรวจสุขภาพเด็กในศูนย์เด็กเล็กตำบลปิตูมุดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กตำบลปิตูมุดี ปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3030-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอิบตีซาม เจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด