กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ


“ พัฒนาศักยภาพอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ry ”

ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุฑามาศ วณิชย์เศรษฐ์

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ry

ที่อยู่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5245-3-01 เลขที่ข้อตกลง 9/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ry จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ry



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ry " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขามีเกียรติ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5245-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 112,182.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขามีเกียรติ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถิติข้อมูลในปี 2019 จำนวนประชากรโลก 7,713 ล้านคน พบว่า ประชากรในกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีจำนวนสูงถึง 1,016 ล้านคน ซึ่งองค์การสหประชาชาติยังได้คาดการณ์ว่าอีก 20 ปีข้างหน้า จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มสัดส่วนขึ้นถึง 1 ใน 5 ของประชากรโลก สำหรับประเทศไทยบ้านเราช่วงปี 2562 มีอัตราจำนวนเกิดลดต่ำลงเหลือเพียง 6.1 แสนคน ขณะที่จำนวนผู้สูงอายุวัยปลาย อายุ 80 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็น 1.3 ล้านคนและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นี่จึงเป็นเหตุผลที่เราควรหันมาให้ความสำคัญกับกลุ่มคนในวัยนี้ให้มากขึ้นยังมีงานวิจัยพบว่าในปี 2565 ประเทศไทยจะเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” โดยจะมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในอัตราร้อยละ 20 ของจำนวนประชากรทั้งหมด และคาดว่าในปี 2576 จะเข้าสู่การเป็น “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” คือมีสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในอัตรา  ร้อยละ 28 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นจะสร้างผลกระทบในระดับบุคคลโดยเฉพาะในกลุ่มคนวัยแรงงานที่มีภาระในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ทุกวันนี้ประเทศไทยเรามีสัดส่วนของ กำลังแรงงาน : ผู้สูงอายุ : เด็ก อยู่ที่ 4 : 1 : 1 คาดว่าในปี 2579 จะปรับลงไปอยู่ที่ 2 : 1 : 1 และยังกระทบในเรื่องผู้สูงอายุในด้านการปรับตัวในสังคมสูงอายุ ซึ่งเป็นข้อจำกัดของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีอีกด้วย นอกจากสังคมไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมผู้สูงอายุมากขึ้นแล้ว สภาพครอบครัวจากอดีตซึ่งเป็นครอบครัวใหญ่ มีคนหลายรุ่นอยู่ในครอบครัวเดียวกัน เริ่มกลายสภาพเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ทำให้ผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่ต้องอาศัยอยู่เพียงลำพัง ส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดความว้าเหว่ รู้สึกด้อยค่าในตัวเอง ทำให้สุขภาวะทางกายและใจของผู้สูงอายุถดถอยมากขึ้นตามไปด้วย สถานการณ์ของสังคมผู้สูงอายุของไทยจึงอยู่ในภาวะที่ต้องได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างทั่งถึง ส่งเสริมบทบาทและสร้างความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองให้แก่ผู้สูงอายุ ซึ่งผู้ที่มีบทบาทในการร่วมกันพัฒนาผู้สูงอายุ อันได้แก่ สมาชิกในครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีภารกิจโดยตรงในการดูแลผู้สูงอายุ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการต่างๆ และสนับสนุน ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างโอกาส ปรับทัศนคติ ให้ผู้สูงอายุเล็งเห้นความสำคัญของตนเองมากขึ้น สามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขและมีศักดิ์ศรี “โรงเรียนผู้สูงอายุ” จึงเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการสร้างโอกาส ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะด้านต่างๆให้แก่ผู้สูงอายุ โดยใช้กิจกรรมต่างๆที่เหมาะสมกับวัยมาเป็นแนวทางในการจัดการหลักสูตร เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความเชื่อมั่น และภูมิใจในศักยภาพของตนเอง สามารถเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้แก่ผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรต่างๆในพื้นที่ ร่วมกันสนับสนุนวิทยากร งบประมาณ เพื่อจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่เหมาะสมให้แก่ผู้สูงอายุ
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุตำบลเขามีเกียรติ ได้มีพื้นที่ในการทำกิจกรรม เสริมสร้างกำลังใจ และส่งเสริมคุณภาพชีวิตอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ งานพัฒนาชุมชน สำนักปลัด ร่วมกับชมรมผู้สูงอายุตำบลเขามีเกียรติ จึงได้จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยใช้ชื่อโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น ภายใต้สโลแกนที่ว่า    “สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน” ซึ่งมีผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลเขามีเกียรติ ให้ความสนใจจำนวนมาก และในรุ่นที่ 1 จะมีผู้เรียนจำนวน 70 คน (สมาชิกสามัญและสมาชิกสมทบ) จัดให้มีการเรียนการสอนทุกวันพุธของสัปดาห์ ตลอดระยะเวลา 4 เดือน โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 ส่วนที่ 3 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ได้กำหนดให้ องค์การบริหารส่วนตำบลเป็นหน่วยราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา 66 ความว่า องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และมาตรา 67 ความว่าภายใต้บังคับกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลดังต่อไปนี้ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ตามมาตรา 68 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลจัดทำกิจการในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างรอบด้าน 2.เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน 3. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลเขามีเกียรติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างรอบด้าน 2 ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน 3 ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลเขามีเกียรติมีความสามัคคีกันมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างรอบด้าน 2.เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน 3. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลเขามีเกียรติ
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจที่สดชื่นแจ่มใส พร้อมดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข 2. ผู้สูงอายุมีกลุ่มที่สามารถสร้างสังคม สร้างจิตใจให้มีความสุข และลดปัญหาที่ผู้สูงอายุจะติดบ้าน หันมาติดสังคมแทน 3. ชมรมผู้สูงอายุสามารถดำรงคงอยู่ และปฏิบัติภารกิจอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาคุณภาพที่ดีต่อไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างรอบด้าน 2.เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่ในการพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน 3. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลเขามีเกียรติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาศักยภาพอย่างรอบด้านให้แก่ผู้สูงอายุ (สูงวัยหัวใจเก๋า หิ้วกระเป๋าเข้าโรงเรียน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566ry จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5245-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจุฑามาศ วณิชย์เศรษฐ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด