กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการสร้างเครือข่ายติดตามวัคซีนแบบยั่งยืนในเด็กอายุ 0-5 ปี ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายรีฎวน มะเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเครือข่ายติดตามวัคซีนแบบยั่งยืนในเด็กอายุ 0-5 ปี

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4156-1-06 เลขที่ข้อตกลง 05/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเครือข่ายติดตามวัคซีนแบบยั่งยืนในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเครือข่ายติดตามวัคซีนแบบยั่งยืนในเด็กอายุ 0-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเครือข่ายติดตามวัคซีนแบบยั่งยืนในเด็กอายุ 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4156-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาระบาดวิทยาของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนโดยในปี 2563 พบผู้ป่วย 2,926 ราย เสียชีวิต 23 ราย และในปี 2564 ข้อมูล ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2564 พบผู้ป่วยแล้ว 1,908 ราย เสียชีวิต 12 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุน้อยกว่า 1 ปี รองลงมา กลุ่มอายุ 1-4 ปี อายุ 20-29 ปี อายุ 5-9 ปี และอายุ 30-39 ปี จากการสอบสวนโรคพบว่า ผู้ป่วยร้อยละ 84 ไม่เคยได้รับวัคซีน หรือไม่แน่ใจ ซึ่งเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเป็นอย่างมาก “โรคหัดในประเทศไทยแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ โดยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ซึ่งไม่เคยได้รับวัคซีน หรือได้รับไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ในช่วงที่ผ่านมานั้นการระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ยังพบการระบาดของโรคหัด และ โรคคอตีบ ซึ่งถือว่าเป็นโรคที่รุนแรงและก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิตของคนในสังคมเป็นอย่างมาก การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอที่ผ่านมานั้นรพ.สต.เกะรอ ได้มีการจัดบริการคลินิกเด็กดี 4 ครั้งต่อเดือน โดยกำหนดเป็นช่วงเช้าบริการฉีดวัคซีนที่มาตามนัดและช่วงบ่ายเชิงรุกในพื้นที่ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ รพ.สต.เกะรอจึงจัดทำโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเชิงรุกในเด็กอายุ 0-5 ปี เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรับบริการไม่ว่าจะเป็นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เฟสบุ้ค ไลน์ สามารถเพิ่มและติดตามความครอบคลุมการมารับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก0-5 ปีให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายสาธารณสุขที่กำหนดได้และสามารถลดค่าใช้จ่ายโทรศัพท์ในการติดตามการมารับวัคซีนได้ในการพัฒนาระบบนัดการติดตามวัคซีนในเด็ก 0-5 ปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ ทำให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครอบคลุม ลดการป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ลดภาระการกำจัดโรค ลดภาระการดูแลผู้ป่วย ซึ่งประเทศชาติต้องสูญเสียทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครอง
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามนัด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 108
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้เรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครอง
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเข้ารับการอบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีน ร้อยละ 100

     

    2 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามนัด
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามนัดร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 108
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 108
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องวัคซีนแก่ผู้ปกครอง (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มารับบริการฉีดวัคซีนตามนัด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเครือข่ายติดตามวัคซีนแบบยั่งยืนในเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L4156-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายรีฎวน มะเซ็ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด