กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร


“ โครงการชาวบ้านหารร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566 ”

ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพนมมาศ สารชนะ, นางห่ำด๊ะ หมัดอะดั้ม

ชื่อโครงการ โครงการชาวบ้านหารร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5221-02-01 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวบ้านหารร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวบ้านหารร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวบ้านหารร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5221-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น ๕ ด้าน คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุมทั้ง ๕ ด้านนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ แข็งแรงได้ แต่การที่จะทำให้ได้ทั้ง ๕ ด้านนั้น เป็นเรื่องที่ยาก เพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือในอดีตการสาธารณสุขไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าในปัจจุบัน ประชาชนมักเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อไวรัสที่กระทำต่อร่างกาย เช่นไข้หวัดใหญ่ อุจจาระร่วงเป็นต้น แต่ปัจจุบันการแพทย์และการสาธารณสุขก้าวหน้าขึ้นรวมทั้งวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปโรคที่เกิดขึ้นกับประชาชน จึงกลายเป็นโรคการไม่ดูแลพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง เช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อุบัติเหตุ ฯลฯ อีกทั้งยังมีโรคที่กลับมาเป็นปัญหาที่สำคัญอีก เช่น โรควัณโรค โรคเอดส์ โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ และโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคโควิด-19 เป็นต้น การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทุกฝ่าย ต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนเน้นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของชุมชนได้เอง เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนให้เข้มแข็งแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งบริการสาธารณสุขต้องมีการจัดกิจกรรมที่สามารถพัฒนาและปฏิบัติการโดยเน้นเชิงรุก พัฒนารูปแบบที่เป็นนวัตกรรม ที่ใช้ความรู้นำมุ่งเน้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิยมของประชาชน เกิดการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดอัตราเสี่ยงกับการเกิดโรค ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบ้านหาร ซึ่งมีบทบาทในการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขให้สามารถดูแล และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน ด้วยเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในชุมชนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบการเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพ และดูแลผู้ป่วยด้วยโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของชุมชน จึงได้จัดทำโครงการอสม.บ้านหาร ห่วงใยใส่ใจประชาชน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม. ได้รับการพัฒนาทักษะการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการในชุมชนได้อย่างเข้มแข็ง
  2. ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยอสม. เพื่อให้ความรู้ แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. อสม.มีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในพื้นที่ มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    2. ครอบครัวและญาติของผู้ป่วยสามารถดูแลผู้ป่วยได้ถูกต้อง และได้รับกำลังใจเสริมพลังจากการดูแลของเครือข่ายในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมกำจัดลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 6 ครั้งในพื้นที่ตำบลบ้านหาร รวมถึงกิจกรรม Kick Off สร้างตระหนักในการป้องกันโรคในชุมชน
    2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา
    3. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงข้อมูลข่าวสารการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก
    4. การวิเคราะห์ข้อมูลการเกิดโรค นำเสนอสถานการณืโรค สอดแทรกการให้ความรู้ผ่านการประชุมประชุมประจำเดือน อสม.ทุกเดือนพร้อมติดตามรายงาน HI CI

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ อสม. ได้รับการพัฒนาทักษะการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการในชุมชนได้อย่างเข้มแข็ง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยอสม. เพื่อให้ความรู้ แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 อสม.มีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. ได้รับการพัฒนาทักษะการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการในชุมชนได้อย่างเข้มแข็ง (2) ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยอสม. เพื่อให้ความรู้ แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) อสม.มีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาล และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวบ้านหารร่วมใจ ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5221-02-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพนมมาศ สารชนะ, นางห่ำด๊ะ หมัดอะดั้ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด