กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ “บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย” ลดโรคไข้เลือดออก ปี 2566
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 มิถุนายน 2566 - 10 กรกฎาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,740.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายไชยวุฒิ ชนะพล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะแพน อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 136 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และการสาธารณสุขในระดับประเทศไทย มายาวนาน เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราตาย การป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกจึงส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยชุมชน สังคมและประเทศชาติ ตามลำดับ หากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อคและเสียชีวิตได้ เดิมการระบาดของโรคไข้เลือดออกจะพบบ่อย ในกลุ่มอายุระหว่าง 15 - 24 ปี แต่ปัจจุบันมักพบผู้ป่วยได้ในทุกกลุ่มอายุและพบได้ทุกฤดูกาล สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2565 ข้อมูล ณ วันที่ 01 มกราคม2566มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม อำเภอศรีบรรพต มีผู้ป่วย 3 รายอัตราป่วย 17.64ต่อแสนประชากร ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน มีผู้ป่วย 1 ราย อัตราป่วย 50.17ต่อแสนประชากร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะแพน ดำเนินการเฝ้าระวังโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยพบผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง จึงจำเป็นต้องจะติดตามและเพิ่มมาตรการให้เข้มงวดมากขึ้น โดยให้ทุกหมู่บ้านได้ทำการควบคุมและป้องกันโรค รวมทั้งกระตุ้นให้ชุมชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของโรคไข้เลือดออกและช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายให้หมดไปโดยมุ่งหวังที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาการป่วยและลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายให้หมดไปจากพื้นที่ และเพื่อลดความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยที่สุดด้วยกลวิธีครัวเรือนปลอดลูกน้ำยุงลายของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการ“บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย” ลดโรคไข้เลือดออกปี 2566 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง อันเป็นการกระตุ้นเตือน ให้ตื่นตัวในการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

ประชาชนมีความรู้และความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง

116.00 116.00
2 เพื่อสร้างครัวเรือนต้นแบบบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย ทุก หมู่บ้าน ทั้งประเภทบ้าน อสม และประเภทบ้านตัวแทนในเขตรับผิดชอบของ อสม

ร้อยละของหมู่บ้านชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน โดยมีค่า H I  ≤๑๐

116.00 116.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด

1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,740.00 0 0.00
13 มิ.ย. 66 - 10 ก.ค. 66 ประเมิน บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย 0 6,740.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ ๒๐ ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี
2. ร้อยละของหมู่บ้านชุมชนมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน โดยมีค่า H I≤๑๐
3. ร้อยละของโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=0)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2566 00:00 น.