กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE แกนนำเยาวชน
รหัสโครงการ 66-L1518-0111
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านทุ่งหลวง
วันที่อนุมัติ 30 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 21,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพันธ์ทิวาพร ศรีจันทร์ทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 17 ส.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 21,100.00
รวมงบประมาณ 21,100.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหายาเสพติดที่มีการระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งด้านการเมืองและความมั่นคงของประเทศตั้งแต่ปี 2542 เป็นต้นมาสภาพปัญหายาเสพติดเปลี่ยนแปลงไปจากที่เป็นอยู่ในอดีตอย่างสิ้นเชิงจากเดิมที่ "เฮโรฮีน" เป็นปัญหาสำคัญกลาย "ยาบ้า หรือสารเมทแอม-เฟตามีนที่กำลังระบาดตั้งแต่ระดับครอบครัวโรงเรียนชุมชนสังคมและประเทศ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดีทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะกลุ่มเด็ก และเยาวชนที่เป็นกลุ่มขนาดใหญ่เพราะมีจำนวนถึง 21 ล้านคน และเป็นกลุ่มที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศนอกจากนี้ยังถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติดสูงเนื่องจากเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ แต่ยังขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ดีพอรวมทั้งต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจจึงทรงพระกรุณาธิคุณรับเป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดซึ่งปัจจุบันได้ใช้ชื่อเพื่อให้ง่ายต่อการรณรงค์ว่าโครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในประเทศให้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพโดยความร่วมมือและรวมพลังจากภาครัฐและเอกชนกระตุ้น และปลุกจิตสำนึกของปวงชนในชาติให้มีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักว่าการที่จะเอาชนะปัญหายาเสพติดมีใช่หน้าที่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งแต่ทุกคนในชาติจะต้องเข้าร่วมแรงร่วมใจกันเป็นพลังของแผนดินที่จะต่อสู้และเอาชนะปัญหายาเสพติดให้ได้โดยเร็ว โดยทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการรณรงค์ในกลุ่มเป้าหมายยาเสพติดหลักคือวัยรุ่น และเยาวชนโดยกลวิธีโดยกลวิธีสร้างกระแสการแสดงพลังอย่างถูกต้องโดยไม่ข้องแวะกับยาเสพติดการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชนจัดระบบการบำบัดรักษารองรับภายใต้โครงการ "ใครติดยายกมือขึ้น" ทั้งนี้เพื่อคืนคนดีสู่สังคมและป้องกันการกลับมาเสพซ้ำตลอดจนการสร้างเครือขายสมาชิกและชม TO BE NUMBER ONE เพื่อร่วมกันรณรงค์และจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นเสมือนการเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิตเพื่อให้เกิดค่านิยมของการเป็นหนึ่งโดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหลวง ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพทีดีให้แก่เด็ก รวมไปถึงสามารถเป็นตัวอย่างสมาชิกในชุมชนดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งหลวง จึงเป็นจุดเริ่มต้นของความเป็นอยู่อย่างมีสุขภาพดี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างทัศนคติและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้กับเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

ร้อยละ 80 ของแกนนำเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

0.00
2 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เยาวชน และประชาชนทั่วไป

ร้อยละ 80 ของแกนนำเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อสร้างทัศนคติและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้กับเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 3. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เยาวชน และประชาชนทั่วไป

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

17 ส.ค. 66 - 25 ก.ย. 66 6. 1. กิจกรรมอบรมแกนนำเยาวชน ช่วงอายุ 10 -24 ปี จำนวน 60 คน มีกิจกรรมดังนี้ อบรมให้ความรู้เรื่อง โทษของยาเสพติด ( 2 วัน ) 21,100.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    1. เยาวชนมีภูมิคุ้มกันทางจิตใจไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
    1. เยาวชนได้พัฒนาศักยภาพและคุณภาพให้เป็นคนรุ่นใหม่ที่เชื่อมั่นและภาคภูมิใจในตนเอง
    1. เยาวชนได้ร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์โดยการสนับสนุนของสังคม
    1. เยาวชนเข้าใจและยอมรับผู้มีปัญหายาเสพติดโดยให้โอกาสกลับมาเป็นคนดีของสังคม
    1. เยาวชนและชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2566 14:47 น.