กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ


“ การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล ”

เขต ตำบลโนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 11 หมู่บ้าน

หัวหน้าโครงการ
1. นายชูชาติ ซาเสน รองปลัด อบต. 2. นางวาสนา คำนนท์ รก.หัวหน้าสำนักปลัด 3. นายจิรกร สิงซอม ผู้ช่วยนักวิชาการเกษตร

ชื่อโครงการ การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล

ที่อยู่ เขต ตำบลโนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 11 หมู่บ้าน จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ L4844-001-66 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขต ตำบลโนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 11 หมู่บ้าน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล " ดำเนินการในพื้นที่ เขต ตำบลโนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 11 หมู่บ้าน รหัสโครงการ L4844-001-66 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
  4. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
  5. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  6. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
  7. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย
  2. การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน
  3. การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย
  4. การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
  5. การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ
  6. การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
  7. การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้
  8. การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล
  9. จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน
  10. การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน
  11. การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน
  12. อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค
  13. 5 ส วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
  14. กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,600
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีแนวทางร่วมกันขั้นตอน วิธีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตลอดจนกิจกรรมการต่างในการขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอยในหมู่บ้านและภาพรวมในระดับตำบล
  2. มีการลงบันทึกความตกลงความร่วมมือ ในระดับ อปท. องค์กรภาครัฐ และหมู่บ้าน/ชุมชน
  3. สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน
  4. ตระหนักและมีวินัยในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ครัวเรือน ตามหลัก 3 ช. (3Rs) 2.สถานศึกษาเกิดการตระหนักและมีวินัยในการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช. (3Rs)
  5. เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนที่ตกค้างตามที่สาธารณะ
  6. การกำจัดแหล่งสิ่งปฏิกูล หรือแหล่งพาหนะนำโรคเพื่อป้องกันการเกิดเกิดมลพิษ และโรคต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นในชุมชน
  7. สร้างกลุ่มการจัดการขยะภายในชุมชนและขับเคลื่อนงานอย่างเป็นระบบและเชื่อมโยงกิจกรรมทั้งตำบล
  8. ส่วยราชการ/องค์กรภาคีเครือข่ายประชาชน และทุกครัวเรือนมีการจัดทำถังขยะเปียก/ขยะอินทรีย์เพื่อใช้ในการจัดการคัดแยกขยะที่ต้นทางและใช้ประโยชน์จากขยะอย่างเหมาะสม ร้อยละ 95
  9. มีกลุ่มแกนนำของชุมชนและมีการดำเนินกิจกรรมอย่างน้อย จำนวน 5 หมู่บ้านขึ้นไปเพื่อขับเคลื่อนการจัดการขยะของตนเอง
  10. เพื่อพื้นที่ทางกายภาพของวัด และชุมชนให้สะอาด ร่มรื่น สวยงามเป็นสถานที่สัปปายะ
  11. พัฒนาพื้นที่ทางสังคมและการเรียนรู้ของวัด และชุมชนด้วยวิถีวัฒนธรรมเชิงพุทธ 3. วัดสร้างสุขทางปัญญาด้วยแนวทาง 5ส. (สะสาง สะดวก สะอาด สร้างมาตรฐาน สร้างนิสัย)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล

วันที่ 24 ตุลาคม 2565 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. สรุปสถานการณ์ปัญหาขยะในพื้นที่
  2. สรุปผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา เพื่อนำไปวางแผนในการจัดการขยะ
  3. วางแผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่
  4. ดำเนินการตามแผนงาน บูรณาการร่วมกันกับภาคีเครือข่าย
  5. ประเมินผล และสรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนงาน/กิจกรรม/โครงการ ให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ และดำเนินการตามแผนงาน บูรณาการร่วมกันกับภาคีเครือข่าย

 

30 0

2. จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน

วันที่ 26 ธันวาคม 2565 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ และการนำขยะที่คัดแยกที่เป็นขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) นำไปใช้ประโยชน์
  2. สาธิตการทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน และการนำถังขยะไปดำเนินการในพื้นที่ครัวเรือนที่เป็นจิตอาสานำร่องโครงการ
  3. ดำเนินการตามแผนงาน ให้ครบทั้ง 11 หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ดำเนินการตามแผนงาน ให้ครบทั้ง 11 หมู่บ้าน และมีถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน 100%
  2. ขยะชุมชน ประเภทขยะอินทรีย์นำไปใช้ประโยชน์ได้เหมาะสม
  3. ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นลดลง การเผาทำลายขยะลดลง

 

1,100 0

3. การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน

วันที่ 10 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวสาร สถาการณ์ปัญหา ขยะและปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในพื้นที่
  2. เก็ยขยะมูลฝอย และทำการคัดแยกประเภทขยะ ในพื้นที่สาธารณะ ภายในหมู่บ้าน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ และกำจัดตามประเภทขยะ
  3. ดูแลความเป็นระเบียบ เรียบร้อย อื่นๆ เช่น ตัดกิ่งไม้ไม่ให้ขัดขวางจราจร ความเรียบร้อยป้ายจราจร สายไฟฟ้า เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หมู่บ้านสะอาด มีการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ
  2. ป้องกันโรค และพาหะนำโรค และชุมชนห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก

 

1,100 0

4. การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

. การเดือนรณงค์  และติดป้ายประชาสัมพันธ์ ในชุมชน
2. การออกประชาสัมพันธ์ รถขยายเสียงเคลื่อนที่ 3. การประชาสัมพันธ์เสียงตามสายเกี่ยวกับข้อระเบียบ กฎหมายท้องถิ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมีความเข้าใจและสร้างการมีส่วนร่วมเกี่ยวแนวทางและการปฏิบัติที่สอดคล้องกับภารกิจงานการจัดการขยะมุลฝอย และข้อระเบียบ กฎหมายท้องถิ่น

 

300 0

5. อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การถอดบทเรียน และสรุปปัญหาการบริหารจัดการขยะในชุมชน
  2. การวางแนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

 

500 0

6. อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การถอดบทเรียน และสรุปปัญหาการบริหารจัดการขยะในชุมชน
  2. การวางแนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

 

500 0

7. อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การถอดบทเรียน และสรุปปัญหาการบริหารจัดการขยะในชุมชน
  2. การวางแนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนการจัดการขยะในพื้นที่

 

500 0

8. 5 ส วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรม 5 ส. เพื่อให้วัดดูสวยงาม เป็นระเบียบร้อย
  2. กิจกรรมทางศาสนา เพื่อพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. วัดดูสวยงาม เป็นระเบียบร้อย เหมาะสำหรับการปฎิบัติศาสนากิจ
  2. เพื่อพัฒนาจิตใจ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนคนในชุมชน คุณธรรม จริยธรรม เพื่อการพัฒนาคน สังคม ให้ยั่งยืน

 

250 0

9. กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกคณะทำงาน
  2. นำผลการประชุมที่ได้ เพื่อประกาศจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประกาศจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

 

85 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
180.00 100.00 120.00

ข้อมูลจาก ระบบบันทึกข้อมูลขยะ อปท. มฝ.1 และ มฝ.2 (DLA_WASTE) ปีงบประมาณ 2566

2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
4.00 8.00 9.00

จำนวน หมู่บ้าน ฐานข้อมูล อปท. 11 หมู่บ้าน

3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
65.45 80.00 85.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
79.80 90.00 91.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
90.29 100.00 100.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

6 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
82.35 90.00 100.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

7 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
45.45 70.00 72.72

จำนวน หมู่บ้าน ฐานข้อมูล อปท. 11 หมู่บ้าน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,600 1,600
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (6) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (7) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย (2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน (3) การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย (4) การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (5) การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ (6) การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (7) การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้ (8) การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล (9) จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน (10) การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน (11) การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน (12) อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค (13) 5 ส  วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (14) กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล

รหัสโครงการ L4844-001-66 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มเกษตรอินทรีย์/กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก

 

การสร้างมูลค่าจากขยะชุมชน เพื่อให้เกิดนำขยะอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ให้หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกษตรอินทรีย์จากการจัดการขยะเปียกครัวเรือน

 

สร้างผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์เพื่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ L4844-001-66

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1. นายชูชาติ ซาเสน รองปลัด อบต. 2. นางวาสนา คำนนท์ รก.หัวหน้าสำนักปลัด 3. นายจิรกร สิงซอม ผู้ช่วยนักวิชาการเกษตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด