กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ”

เขตเทศบาลตำบลปริก

หัวหน้าโครงการ
อัมพร ศิริวัฒน์ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ เขตเทศบาลตำบลปริก จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L7889-05-01 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตเทศบาลตำบลปริก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ เขตเทศบาลตำบลปริก รหัสโครงการ 66-L7889-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 จากข้อมูลกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม -31 พฤษภาคม 2566 มีรายงานผู้ป่วย 2884 ราย เสียชีวิต 6 ราย อัตราป่วย 57.57 ต่อแสนประชากร อัตราตาย 0.08 ต่อแสนประชาการ และอัตราป่วยตาย 0.21 ต่อแสนประชากร และมีอัตราป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง เมื่อเทียบช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งคาดว่าน่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มขั้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้จังหวัดสงขลา จึงให้อำเภอหาดใหญ่ เมืองสงขลา เทพา และสะเดา ติดตามสถานการณ์โรคไข้เลือดออก และเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์สาธารณสุข(EOC) ระดับอำเภอ เนื่องจากอำเภอสะเดา ได้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เป็นลำดับที่ 1 ของสงขลา เป็นอันดันดับที่ 2 ของเขตสุขภาพที่12 ภาคใต้มีผู้ป่วยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม -14 มิถุนายน 2566 จำนวน 251 ราย อัตราป่วย 139.55 ต่อแสนประชากรพบผู้ป่วยสูงสุดในตำบลปาดังเบซาร์ จำนวนร 63 ราย อัตราป่วย 176.67 ต่อแสนประชากร รองลงมา ตำบลสำนักขาม จำนวน 50 ราย อัตราป่วย 168.17 ต่อแสนประชากร ตำบลสะเดา จำนวน 45 ราย อัตราป่วย 133.16 ต่อแสนประชากร ตำบลปริก จำนวน 36 ราย อัตราป่วย 115.91 ต่อแสนประชากร และตำบลสำนักแต้ว จำนวน 31 ราย อัตราป่วย 148.32 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และมีแนวโน้มการระบาดเป็นวงกว้างในสถานศึกษา โรงงาน และหมู่บ้าน จึงทำให้อำเภอสะเดามีความจำเป็นเร่งด่วนในการเปิดศูนย์ปฏิบัติการควบคุโรคป้องกันโรคไข้เลือดออกอำเภอสะเดา ครั้งที่ 1 /2566 ในวันที่ 22 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา เพื่อร่วมปรึกษาหารือ วิเคราะห์ปัญหา และวางแผนแก้ไขปัญหา เพื่อการระบาดของโรคไข้เลือดออก สถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออดในเขตเทสบาลตำบลปริก ตั้งแต่วันที่ มกราคม - กรกฎาคม 2566 พบจำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออกยืนยันจำนวน 22รายอัตราป่วยร้อยละ 343.69 ต่อแสนประชากรสงสัยไข้เลือดออก 6 ราย ซึ่งสูงกว่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังในช่วงเดียวกัน (ข้อมูลจากรพ.สต.ปริก ณ วันที่ 17 ก.ค.2566)และยังคงมีการรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออกรายใหม่ในชุมชนและในโรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลปริกอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 กำหนดให้เทศบาลตำบลมีหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ซึ่งโรคติดต่อหมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอด หรือติดต่อจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปยังอีกสิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ โดยไม่จำกัดว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นมนุษย์หรือไม่ก็ตาม โรคติดต่อสามารถแพร่ไปสู่สิ่งมีชีวิตอื่นได้โดยการสัมผัสโดยตรง การสูดดมหายใจเอาเชื้อโรคที่แพร่จากผู้ป่วย การรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีเชื้อปนอยู่ หรือแม้แต่ผ่านตัวกลางที่เรียกว่าพาหะ หากโรคติดต่อนั้นๆมีการแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว สู่ชุมชนที่มีประชากรจำนวนมาก โรคดังกล่าวก็กลายเป็นโรคระบาด จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก จึงความจำเป็นเร่งด่วนในแก้ปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ระบาดเป็นวงกว้าง จึงได้จัดทำโครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,401
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก
    1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
    2. ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ปัญาหา/อุปสรรค (ระบุ) การควบคุมโรคใน Genaration ที่ 2 ทำได้ยาก เนื่องจากการระบาดส่วนใหญ่เกิดในชุมชนที่มีหลังคาเรือนใกล้กัน หรือ เป็นผู้ที่อยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย

แนวทางการแก้ไข (ระบุ) รณรงค์สร้างความตระหนักและขอความร่วมมือประชาชนให้กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างสม่ำเสมอ และพ่นละอองฝอยตัดวงจรการระบาดในชุมชนที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6401
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,401
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L7889-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อัมพร ศิริวัฒน์ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด