กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค ”

ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอันวาร์ เบ็ญอิสมาแอล

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3012-01-03 เลขที่ข้อตกลง 09/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3012-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากช่วงวัยต้นของชีวิต คือ เด็ก 0–5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ดังนั้นเพื่อให้เด็กวัย 0–5 ปีมีสุขภาพดีนั้น ควรได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง 5 ด้านได้แก่ การเจริญเติบโตสมส่วนตามวัย พัฒนาการด้านสมองตามวัย การดูแลสุขภาพช่องปากไม่ให้มีฟันผุ การได้รับวัคซีนครบตามกำหนดและภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จากการการสำรวจพบว่า ภาวะโภชนาการของเด็กปัตตานี มีเด็กผอม และ เด็กเตี้ยสูงกว่าเกณฑ์ซึ่งมีสาเหตุมาจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง การได้รับโภชนาการที่ไม่เหมาะสมและเพียงพอ บิดามารดาไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตร และด้านพัฒนาการพบว่า มีพัฒนาการค่อนข้างล่าช้า จากผลสำรวจ IQ เด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามี IQ เฉลี่ยแล้ว ต่ำที่สุดในประเทศไทย เรื่องของวัคซีน พบว่าการครอบคลุมในการรับวัคซีน ต่ำมากเกือบทุกตัว สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการรับวัคซีนช้า ไม่เห็นประโยชน์ของวัคซีน และเกิดอาการข้างเคียงจากการได้รับวัคซีน อีกทั้งยังพบปัญหาฟันผุในเด็ก เนื่องจากมีพฤติกรรมการไม่แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง และยังพบภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กร่วมด้วย ซึ่งจากผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2565 ของตำบลตันหยงลุโละ งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) ต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 38.98 ,งานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 89.51 ,งานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 100 และการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเด็กพบว่ามีเด็กอายุ 3-5 ปี มีฟันผุ ร้อยละ 67.54 และได้รับการเจาะเลือดตรวจภาวะซีด ร้อยละ 8.09 (ข้อมูลจาก HDC) จากรายงานแม้ขนาดของปัญหาลดลง แต่ยังคงสูงกว่าค่าเฉลี่ยในระดับภาคและระดับประเทศ จึงทำให้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของเด็กแบบองค์รวมให้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค เพื่อให้ความรู้เรื่องดังกล่าวแก่ผู้ปกครอง และส่งเสริมพัฒนาเด็กวัย 0-5 ปี ในเรื่องการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าระวังฟัน วัคซีน โภชนาการ และภาวะซีด เพื่อสร้างเด็กให้สุขภาพดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีเหมาะสมตามวัย เป็นพลเมืองสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
  2. เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
  3. เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน
  5. เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะ ในการูดแลเฝ้าระวังเบื้องต้นได้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแก่ผู้ปกครองและเด็กครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน
  2. กิจกรรมเข้าฐานแต่และฐาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองเด็ก 43

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน
    3.ผู้ปกครองมีทักษะ ในการูดแลเฝ้าระวังเบื้องต้นได้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
38.98 25.00

 

2 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
10.00 5.00

 

3 เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
10.00 5.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน
80.00 100.00

 

5 เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะ ในการูดแลเฝ้าระวังเบื้องต้นได้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะ ในการูดแลเฝ้าระวังเบื้องต้นได้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน
20.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 86
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองเด็ก 43

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์เด็กเล็ก(0-3 ปี) ขึ้น (2) เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง (3) เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง (4) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน (5) เพื่อให้ผู้ปกครองมีทักษะ ในการูดแลเฝ้าระวังเบื้องต้นได้ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน ในเรื่องโภชนาการ พัฒนาการ ภาวะโลหิตจาง วัคซีน และฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแก่ผู้ปกครองและเด็กครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน (2) กิจกรรมเข้าฐานแต่และฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลโรค จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3012-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอันวาร์ เบ็ญอิสมาแอล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด