กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ


“ โครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัย ”

ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอันวาร์ เบ็ญอิสมาแอล

ชื่อโครงการ โครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3012-01-05 เลขที่ข้อตกลง 07/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3012-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลสถิติพบว่าวัยรุ่นไทยคลอดบุตรที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ระหว่างปี 2552-2562 พบว่ามี จำนวน 1,138,427 ราย ซึ่งในปี 2562 จำนวน 61,651 ราย คิดเป็นจำนวนเฉลี่ย 97 รายต่อ วัน ก่อนตั้งครรภ์แม่วัยรุ่นยังเป็นนักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาถึงร้อยละ 48.5 และส่วนใหญ่แม่วัยรุ่นที่เป็น นักเรียน นักศึกษาไม่ตั้งใจตั้งครรภ์และไม่มีการคุมกำเนิดถึงร้อยละ 55.2 (Reproductive Health Office, 2020) เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา ได้แก่ การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยและการทอดทิ้งเด็ก การติดเชื้อเอดส์ ซึ่งการตั้งครรภ์ไม่พร้อมยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของเด็กที่เกิดมาและแม่วัยรุ่นทั้งทางกายและทางจิตใจ (Panichkriangkrai, 2014; Sommana, Chaimay & Woradet, 2018) จากรายงานของโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ พบว่า ทารกที่เกิดจากแม่ วัยรุ่น มีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์ โลหิตจาง ภาวะขาดสารอาหารทั้งในครรภ์มารดา และหลังคลอด มีโอกาสเจ็บป่วยและพัฒนาการทางร่างกายและสมองช้ากว่าเด็กทั่วไป และที่สำคัญเด็กจะมีพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรง ซึ่งจะนำไปสู่ปัญหาสังคมต่อไปอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้ยังพบว่าการตั้งครรภ์ใน ขณะที่ร่างกายไม่พร้อมส่งผลให้วัยรุ่นเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากภาวะครรภ์เป็นพิษ โลหิตจาง ภาวะตกเลือดหลัง คลอด รวมถึงการเสียชีวิตจากการคลอดบุตร และยังส่งผลกระทบต่อจิตใจ ก่อให้เกิดความเครียดและโรคซึมเศร้า สูง เนื่องจากขาดความเตรียมพร้อมในการมีภาระครอบครัว (Pilasant, 2015) ซึ่งสถาบันครอบครัวมีความสำคัญสูงสุดต่อการกล่อมเกลาเด็ก และวัยรุ่นให้เติบโตเป็น“คน”ที่สมบูรณ์ มีคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น ความรักของพ่อแม่และความอบอุ่นของ ครอบครัว เป็นเสมือนเกราะคุ้มกันเด็กจากสิ่งเลวร้ายที่รุมล้อมอยู่ในสังคม แต่ในปัจจุบัน ปัจจัยรุมเร้าต่าง ๆ ได้ เข้ามาส่งผลต่อสภาพครอบครัวและลักษณะการอบรมเลี้ยงดูเด็กได้เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลต่อศักยภาพของ ครอบครัวไทยในการเลี้ยงดู และย่อมส่งผลต่อพัฒนาการและพฤติกรรมของเด็กไทยในปัจจุบันด้วย 3) ปัจจัยด้าน สิ่งแวดล้อม ได้แก่ การใช้สื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ การเที่ยวสถานเริงรมย์ การใช้สารเสพติด ซึ่งปัจจัยด้านนี้เป็น ตัวกระตุ้นทำให้วัยรุ่นเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างอิสระของวัยรุ่น โดย ขาดการชี้แนะจากผู้ปกครอง การเที่ยวสถานบันเทิงและการใช้สารเสพติดเป็นอีกหนึ่งความท้าทายในกลุ่มวัยรุ่น ที่บ่งบอกถึงความกล้าและเป็นตัวบ่งบอกถึงการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน ที่วัยรุ่นไม่อาจปฏิเสธเพื่อนได้ และ ผู้ปกครองเองยังไม่ค่อยเข้าถึงอินเตอร์เน็ต ทำให้ไม่ทราบข้อมูลข่าวสารต่างๆที่เปลี่ยนไป (Pupunhong, Wuttisin & Traitip, 2016)
ซึ่งจากผลการดำเนินงานด้านงานอนามัยแม่เด็ก ปีงบประมาณ 2566 ของตำบลตันหยงลุโละ พบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี มี จำนวน 3 ราย และหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุ 15-19 ปี ตั้งครรภ์ซ้ำ มีจำนวน 1ราย ทั้งนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี เห็นความสำคัญของการปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัยเพื่อให้ความรู้นักเรียนกับเยาวชนในตำบลตันหยงลุโละ ได้เรียนรู้เรื่องพัฒนาการทางเพศ และผลกระทบต่อสุขภาพและจิตใจของหญิงตั้งครรภ์อายุน้อย และการวางแผนครอบครัวโดยให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิดมีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ฝึกให้เยาวชนได้คิดถึงปัญหาทางเพศ การแก้ไขและการป้องกันปัญหา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น โรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น HIV ซิฟิลิส จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ด้วยการวางแผนครอบครัวที่มีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาศักยภาพ อบรมให้ความรู้โดย
  2. สร้างเครือข่ายโดย
  3. เวทีนำเสนอและประกวดผลงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
หญิงอายุ15-19ปี 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการตั้งครรภ์ในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี ไม่เกินร้อยละ 10
  2. ร้อยละวัยรุ่นตำบลตันหยงลุโละ มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวป้องกันการตั้งครรภ์วัยรุ่น (ร้อยละ70)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น โรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น HIV ซิฟิลิส จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น โรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี (HIV) ซิฟิลิส จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอัน
1.00 0.00

 

2 เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ด้วยการวางแผนครอบครัวที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ด้วยการวางแผนครอบครัวที่มีคุณภาพ
50.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
หญิงอายุ15-19ปี 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กวัยเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น โรคที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ เช่น HIV ซิฟิลิส จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ด้วยการวางแผนครอบครัวที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพ อบรมให้ความรู้โดย (2) สร้างเครือข่ายโดย (3) เวทีนำเสนอและประกวดผลงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแกนนำ วัยรุ่น วัยใส รักปลอดภัย จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3012-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอันวาร์ เบ็ญอิสมาแอล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด