กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีดี เรืองพูน

ชื่อโครงการ โครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5281-01-09 เลขที่ข้อตกลง 29

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5281-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง ให้มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา แม้ว่าการตั้งครรภ์ของสตรีจะเป็นภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่ก็เป็นภาวะที่หญิงตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความไม่สุขสบายและมีความวิตกกังวล ดังนั้นจึงจำเป็นที่หญิงตั้งครรภ์ต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและทารกในครรภ์ การเปลี่ยนแปลงของร่างกายตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการคลอดอย่างปลอดภัย รวมทั้งเตรียมรับบทบาทการเป็นมารดาที่ดีมีคุณภาพ เมื่อมารดาได้รับความรู้และได้รับการส่งเสริมอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยจะเริ่มตั้งแต่มารดาวางแผนการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ต่อเนื่องตามเกณฑ์ฝากครรภ์ 8 ครั้ง ตลอดจนติดตามหลังคลอดอย่างต่อเนื่อง เพื่อก้าวเข้าสู่บทบาทของการคลอด แม่ลูกปลอดภัย ร่วมใสใจดูแล ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทอง จึงได้จัดทำโครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 256๖ ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาให้กับกลุ่มเป้าหมาย และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพแม่และเด็กแบบองค์รวมให้ประสบความสำเร็จและมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแลสุขภาพตลอดอายุครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลและแกนนำสุขภาพมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ คลอดและหญิงหลังคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมจัดอบรมหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแล จำนวน 50 คน
  2. 2. กิจกรรมจัดอบรมแกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 85 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 115
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์อย่างต่อเนื่องตามเกณฑ์ฝากครรภ์คุณภาพ
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด   3. ผู้ดูแลและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด ได้อย่างถูกต้อง สามารถประเมินภาวะผิดปกติและส่งต่อได้ทันท่วงที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแลสุขภาพตลอดอายุครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ70ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลและแกนนำสุขภาพมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ คลอดและหญิงหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลและแกนนำสุขภาพที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 115
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์และได้รับการดูแลสุขภาพตลอดอายุครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ดูแลและแกนนำสุขภาพมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ คลอดและหญิงหลังคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมจัดอบรมหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแล จำนวน 50 คน (2) 2. กิจกรรมจัดอบรมแกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 85 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแม่ลูกปลอดภัย ร่วมใส่ใจดูแล ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5281-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีดี เรืองพูน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด