กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอารุณชัย ดาเด๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-02-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,665.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการมีส่วนสำคัญต่อสุขภาพสุขภาวะทางโภชนาการจะเกิดขึ้นได้ต้องมีความสมดุลระหว่างการได้รับและความต้องการสารอาหารหากไม่สมดุลจะก่อให้เกิดภาวะทุพโภชนาการซึ่งไม่ว่าจะเป็นโภชนาการขาดหรือโภชนาการเกินก็ตามล้วนก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพไม่ว่าจะทางด้านร่างกายสติปัญญาอารมณ์และสังคมซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ทั้งสิ้นซึ่งในปัจจุบันเป็นแนวโน้มปัญหาโภชนาการของโลก เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งวัยเด็กเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ถ้าได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม มีการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน ก็จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ซึ่งพัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้ /พัฒนาการอีกด้าน… -2-

พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่วสามารถ
สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบข้าง ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญหาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆและอาหารก็มีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ ดังนั้นควรรับประทานให้ครบทั้ง 5 หมู่ ซึ่งในแต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอต่อร่างกายเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม เด็กในวัยเรียนเป็นช่วงเวลาที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จะมีผลกระทบต่อเด็กได้รับผลกระทบที่พบ ประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกายด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน ด้านเศรษฐกิจ และด้านเศรษฐกิจ จากการตรวจสุขภาพนักเรียนของโรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านกาแป๊ะฮูลู) ประจำปีการศึกษา 2565 ทั้งหมด 297 คน พบว่า นักเรียนที่มีภาวะสูงดีสมส่วน จำนวน239 คน คิดเป็นร้อยละ 80.47 ภาวะอ้วน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.69 ภาวะเตี้ย จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 6.73 นักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 10.10 จากปัญหาดังกล่าวงานอนามัยโรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านกาแป๊ะฮูลู)จึงได้เสนอโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนขึ้น เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนและที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กนักเรียนจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของนักเรียนด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน
  2. 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
  3. 3. เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง รู้ถึงประโยชน์ของผัก และสาธิตการทำอาหารแบบง่าย ๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ครู
  2. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเสริมภาวะโภชนาการ
  3. กิจกรรมสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 58
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
    1. เด็กวัยเรียนได้รับการประเมินและส่งเสริมภาวะ โภชนาการด้านสุขภาพอนามัยได้ถูกต้องและเหมาะสมตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ครู

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม     - ผู้ปกครองและครูให้ความรู้ร่วมมือในการอบรมและทำกิจกรรม จำนวน 88 คน     - นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 58 คน มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าณ์ จำนวน 30 คน และมีภาวะดภชนาการเกิน (ท้อม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 28 คน 2.ด้านผลการดำเนินการโครงการ     - ผู้บริหาร คณะครูได้เล็งเห้นถึงความสำคัญของนักเรยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในการนี้เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จึงจัดให้นักเรียนได้รับรู้ด้านอาหารและโภชนากามากขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น นักเรียนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาได้มีศักยภาพมากขึ้น

 

116 0

2. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเสริมภาวะโภชนาการ

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 14:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม     - ผู้ปกครองและครูให้ความรู้ร่วมมือในการอบรมและทำกิจกรรม จำนวน 88 คน     - นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 58 คน มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าณ์ จำนวน 30 คน และมีภาวะดภชนาการเกิน (ท้อม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 28 คน 2.ด้านผลการดำเนินการโครงการ     - ผู้บริหาร คณะครูได้เล็งเห้นถึงความสำคัญของนักเรยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในการนี้เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จึงจัดให้นักเรียนได้รับรู้ด้านอาหารและโภชนากามากขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น นักเรียนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาได้มีศักยภาพมากขึ้น

 

0 0

3. กิจกรรมสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 14:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม     - ผู้ปกครองและครูให้ความรู้ร่วมมือในการอบรมและทำกิจกรรม จำนวน 88 คน     - นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 58 คน มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าณ์ จำนวน 30 คน และมีภาวะดภชนาการเกิน (ท้อม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 28 คน 2.ด้านผลการดำเนินการโครงการ     - ผู้บริหาร คณะครูได้เล็งเห้นถึงความสำคัญของนักเรยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในการนี้เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จึงจัดให้นักเรียนได้รับรู้ด้านอาหารและโภชนากามากขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น นักเรียนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาได้มีศักยภาพมากขึ้น

 

0 0

4. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับมีการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทีมีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณ จำนวน 30 คน มีดังนี้     - เดือนตุลาคม ด้านน้ำส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีผลดังนี้ นักเรียนทีมีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 23 คนมีน้ำหนักค่องข้างน้อย จำนวน 7 คน ด้านส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ  นักเรียนมีภาวะเตี้ย จำนวน 9 คน ภาวะค่องข้างเตี้ย จำนวน 5 คน ภาวะส่วนสูงตามเกณฑ์ จำนวน 16 คน ด้านน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียนมีภาวะผอม จำนวน 15 คน ภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 8 คน และภาวะสมส่วน จำนวน 7 คน     - เดือนพฤศจิกายน ด้านน้ำส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีผลดังนี้ นักเรียนทีมีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 15 คนมีน้ำหนักค่องข้างน้อย จำนวน 12 คน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 3 คน ด้านส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ  นักเรียนมีภาวะเตี้ย จำนวน 8 คน ภาวะค่องข้างเตี้ย จำนวน 4 คน ภาวะส่วนสูงตามเกณฑ์ จำนวน 18 คน ด้านน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียนมีภาวะผอม จำนวน 4 คน ภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 14 คน และภาวะสมส่วน จำนวน 12 คน     - เดือนธันวาคม ด้านน้ำส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีผลดังนี้ นักเรียนทีมีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คนมีน้ำหนักค่องข้างน้อย จำนวน 17 คน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 4 คน ด้านส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ  นักเรียนมีภาวะเตี้ย จำนวน 7 คน ภาวะค่องข้างเตี้ย จำนวน 7 คน ภาวะส่วนสูงตามเกณฑ์ จำนวน 16 คน ด้านน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียนมีภาวะผอม จำนวน 4 คน ภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 7 คน และภาวะสมส่วน จำนวน 19 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน
0.00

 

3 3. เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง รู้ถึงประโยชน์ของผัก และสาธิตการทำอาหารแบบง่าย ๆ
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 70 ของผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง รู้ถึงประโยชน์ของผัก และสาธิตการทำอาหารแบบง่าย ๆ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 58
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน (2) 2.  เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการและการส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน (3) 3.  เพื่อให้ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักขั้นพื้นฐานด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง รู้ถึงประโยชน์ของผัก และสาธิตการทำอาหารแบบง่าย ๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ครู (2) กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเสริมภาวะโภชนาการ (3) กิจกรรมสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก (4) กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารุณชัย ดาเด๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด