กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการ work health work place ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ

ชื่อโครงการ โครงการ work health work place

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-11 เลขที่ข้อตกลง 10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ work health work place จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ work health work place



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ work health work place " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,147.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานประจำปี ๒๕๖๕ กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ระบุว่ากลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพและการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประเทศไทย โดยผลการสำรวจ NHES ครั้งที่ 6 พบว่า ประชากรไทยร้อยละ 48.8 หรือเกือบครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง และ 1 ใน 3 ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน และไม่ทราบตัวเลขและความเสี่ยงของตนเอง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อน อาทิ โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ข้อมูลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ พบอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ๒๐๖,๓๐๐ราย พื้นที่อำเภอหาดใหญ่พบอัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รวม ๕๐,๙๗๑ ราย ในตำบลทุ่งตำเสา มีอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง ๑๗๙ คน และโรคเบาหวาน ๒๘๕ คน (ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดสงขลา) ข้อมูลปี ๒๕๕๙ จังหวัดสงขลาพบสาเหตุการเสียชีวิต ๑๐ อันดับแรก เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และในปี ๒๕๖๖ เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ซึ่งเป็นองค์กรที่มีบุคลากรอยู่ในวัยทำงานได้เสียชีวิตจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง ๒ ราย
โรคความดันโลหิตสูง ถือเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง เนื่องจากการหัวใจมีแรงดันเลือดสูงขึ้น ส่งผลให้ผนังหลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น และแตกเปราะง่ายจึงเป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตก การป้องกันโรคจำเป็นต้องให้ความรู้ กระตุ้นเตือน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม ซึ่งผลการวิจัยระบุว่าแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความรุนแรงของการเกิด โรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง) มีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ (กรรณิการ์ เงินดี, 2563) และการควบคุมความดันโลหิตให้ปกติอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดโอกาสเกิดโรคอัมพฤกษ์อัมพาตได้ (สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย, 2563) รวมถึงผลการศึกษาที่ระบุว่าการป้องกันโดยการปรับเปลี่ยนปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดโรค ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองมากที่สุด ภาวะไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน การสูบบุหรี่หรือการรับควันบุหรี่จากผู้อื่น การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และภาวะอ้วน ซึ่งบุคคลสามารถป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้ด้วยการเริ่มต้นดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตนเอง โดยการหมั่นตรวจสุขภาพ และลดความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภาวะสมองขาดเลือด (ชลธิรา กาวไธสง และรุจิรา ดวงสงค์, 2557) เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เป็นองค์กรที่มีบุคลากรรวม ๑๘๙ คน ซึ่งอยู่ในวัยทำงาน ที่มีความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและองค์กรปกครองท้องถิ่นเป็นอย่างมาก จากสถานการณ์ที่พบอัตราตายของบุคลากรจากภาวะหลอดเลือดสมอง ๒ ราย บ่งชี้ว่าพนักงานให้ความสำคัญกับการทำงาน ประกอบอาชีพหารายได้มากกว่าการดูแลสุขภาพตนเอง ชีวิตรีบเร่งมีความเครียดจากการทำงาน ปัจจัยภายนอกเหล่านี้ทำให้เกิดพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม ได้แก่อาหารที่มีโซเดียมสูง อาหารที่มีไขมันสูง ดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง จัดการความเครียดไม่เหมาะสม ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ พฤติกรรมเหล่านี้จึงส่งผลต่อการเกิดโรค ดังนั้นงานส่งเสริมสุขภาพ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุขกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา จึงจัดทำโครงการ work healthwork place ขึ้นเพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้องรังในกลุ่มวัยทำงาน เพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของบุคลากรในองค์กร และเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคติดต่อไม่เรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองความเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มวัยทำงาน
  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน ในองค์กร
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งจุดบริการสุขภาพดีวัยทำงานในองค์กรเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา “จุดบริการสุขภาพเบื้องต้น”
  2. คัดกรองความเสี่ยงสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มวัยทำงานสังกัดเทศบาล
  3. จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  4. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  5. สรุปและรายงานผลโครงการ
  6. กิจกรรมเสริมสร้างแจงจูงใจแก่บุคลากรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 189
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล และพนักงานในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ได้รับการคัดกรองเพื่อลดความเสี่ยงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๒. คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล และพนักงานในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา สามารถเข้าถึงบริการตรวจวัดความดันโลหิตได้สะดวก สามารถจัดการตนเองเพื่อปรับเปลี่ยนพติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล และพนักงานในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองความเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มวัยทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน ในองค์กร
ตัวชี้วัด : ๑. องค์กรมีฐานข้อมูลสุขภาวะสุขภาพของบุคลากร ๒. มีจุดในคำปรึกษาและประเมินภาวะสุขภาพของบุคลากรอย่างน้อย ๑ จุด ๓. ร้อยละ ๘๐ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุข
0.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 189
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 189
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองความเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มวัยทำงาน (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน ในองค์กร (3) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งจุดบริการสุขภาพดีวัยทำงานในองค์กรเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา “จุดบริการสุขภาพเบื้องต้น” (2) คัดกรองความเสี่ยงสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มวัยทำงานสังกัดเทศบาล (3) จัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (4) ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (5) สรุปและรายงานผลโครงการ (6) กิจกรรมเสริมสร้างแจงจูงใจแก่บุคลากรในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ work health work place จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด