กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลตำบลร่มเมือง(ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุขเทศบาลตำบลร่มเมือง)

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67 - L3360- 1 -13 เลขที่ข้อตกลง .............................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67 - L3360- 1 -13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ แก้ไขฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 เป็นกฎหมายที่กระจาย อำนาจให้ราชการส่วนท้องถิ่นในการควบคุมดูแลเพื่อ คุ้มครองประชาชนด้านสุขลักษณะและอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการประกอบกิจการและการกระทำทุกอย่างที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตั้งแต่ระดับชาวบ้านครัวเรือน ชุมชน ตลอดจนกิจการทั้งขนาดเล็กและขนาด ใหญ่เช่น หาบเร่ แผงลอย สถานที่จำหน่ายอาหารสถานที่สะสมอาหาร ตลาดสด และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประเภทต่าง ๆ โดยให้อำนาจในการออกข้อบัญญัติของราชการส่วนท้องถิ่น เพื่อควบคุมและบังคับใช้ภายในท้องถิ่นนั้นๆได้ด้วยการอนุญาตหรือไม่อนุญาต การออกคำสั่ง ให้ปรับปรุงแก้ไข ให้หยุดกิจการ การสั่งพัก ใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต ซึ่ง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป็นเรื่องที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ หมวด ๗ ว่าหมายถึง“กิจการที่มีกระบวนการผลิตหรือกรรมวิธีการผลิตที่ก่อให้เกิดมลพิษหรือสิ่งที่ทำให้เกิดโรค ซึ่งจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อยู่ในบริเวณข้างเคียง ไม่ว่าจะเป็นมลพิษ ทางอากาศ ทางน้ำ ดิน แสง เสียงความร้อน ความสั่นสะเทือน รังสี ฝุ่นละออง เขม่า เถ้า ฯลฯ” ซึ่งจะต้องมีการ ควบคุม กำกับดูแลการประกอบกิจการ โดยผู้ประกอบการต้องขออนุญาตก่อน เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่ในการควบคุมผู้ประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และประชาชนผู้ประกอบอาชีพเข้าข่ายกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เทศบาลมีภารกิจในการตรวจสอบและสนับสนุนให้สถานประกอบการนั้นๆ ปรับปรุงสถานประกอบการให้ถูกสุขลักษณะเพื่อป้องกันอันตรายหรือมลพิษ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชน การควบคุมดูแลการประกอบกิจการในเขตท้องถิ่น ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงเป็นภารกิจหนึ่ง ที่ราชการส่วนท้องถิ่น จำเป็นต้องดำเนินการในการควบคุมการประกอบกิจการประเภทต่างๆ ของราชการ ส่วนท้องถิ่น จำเป็นต้องอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คือ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 แก้ไขฉบับที่ 2 พ.ศ.2560 เป็นสำคัญ ส่วนพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ พ.ศ.2535
ปัจจุบัน มีประกาศกระทรวงสาธารณสุข ที่ 5/2538 เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 1๓๒ ตอนพิเศษ ๑๖๕ง ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม 25๕๘ ประกอบด้วย กิจการประเภทต่างๆ รวม 1๔๑ ประเภท ซึ่งจะเห็นได้ว่า มีจำนวนของประเภทกิจการเพิ่มขึ้นจากเดิมนอกจากจำนวนประเภทของกิจการมีจำนวนเพิ่มขึ้นแล้ว ปัญหาปัจจัยเสี่ยงหรือมลพิษที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยพิจารณาจากปัญหาเหตุรำคาญ หรือข้อร้องเรียนจากประชาชนที่ได้รับผลกระทบ ปัญหา ปัจจัยเสี่ยงหรือมลพิษดังกล่าว หากผู้ประกอบการให้ความสำคัญ โดยการปฏิบัติงานตามมาตรการหรือมาตรฐานที่ กำหนดนั้น คาดว่าจะส่งผลกระทบลดลง รวมทั้งเจ้าพนักงานท้องถิ่น เจ้าพนักงานสาธารณสุข ต้องมีส่วนในการ กระตุ้นเตือนให้การสนับสนุน การปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานควบคุมกิจการที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพให้เกิดผลได้เป็นอย่างดี ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข ในฐานะผู้รับผิดชอบจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อเผยแพร่ความรู้และวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องแก่ผู้เข้าร่วมอบรมและนำความรู้ วิธีการปฏิบัติปฏิบัติ รวมถึงการจัดการด้านสถานที่และมาตรฐานด้านความปลอดภัยในสถานประกอบการได้เป็นอย่างดี เพื่อให้สถานประกอบการทุกแห่งสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกหลักสุขาภิบาล จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. วิเคราะห์ และวางแผนสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  2. 2.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพและสรุปผลด้านสุขาภิบาลสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 64

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตอบคำถามถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพและสรุปผลด้านสุขาภิบาลสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

วันที่ 26 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาล สำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
2.สรุปและรายงานผลกิจกรรม งบประมาณ 1. ค่าป้ายโครงการเป็นเงิน 500บาท 2. แผ่นพับให้ความรู้ (แบบสี)( 64 คน x 50 บาท )เป็นเงิน3,200บาท 3. ค่าวิทยากรให้ความรู้ 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน3,600บาท 4. ค่าอาหารกลางวัน ( 64 คน x 70 บาท x 1 มื้อ )เป็นเงิน4,480บาท 5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 64 คน x 25 บาท x 2 มื้อ ) เป็นเงิน3,200บาท
6. ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร ( 64 คน x 120 บาท ) เป็นเงิน7,680บาท 8. ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 340 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตอบคำถามถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

65 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
เจ้าของกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 64

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. วิเคราะห์ และวางแผนสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (2) 2.จัดอบรมพัฒนาศักยภาพและสรุปผลด้านสุขาภิบาลสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขาภิบาลสำหรับสถานประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67 - L3360- 1 -13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลตำบลร่มเมือง(ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุขเทศบาลตำบลร่มเมือง) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด