กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางขุด


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,393.60 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาโรคในช่องปากเป็นปัญหาที่พบมากในประชากรทุกวัย ธรรมชาติการเกิดโรคในช่องปาก จะมี พัฒนาการไปตามช่วงวัย เริ่มจากปัญหาการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็ก เยาวชน ไปจนถึงปัญหาการสูญเสียฟัน ในวัยทำงานและผู้สูงอายุ ปัญหาโรคฟันผุจึงเป็นปัญหาสำคัญที่เป็นจุดเริ่มต้นของความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะในช่องปากเริ่มตั้งแต่โดยช่วงตั้งครรภ์จะ พบเหงือกอักเสบ โรคปริทันต์และฟันผุมากกว่าปกติ สาเหตุหลักเกิดจากการทานอาหารบ่อย ทานอาหารหวานมากกว่าปกติ การอาเจียนในขณะที่ตั้งครรภ์ และการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนProgesterone ที่มีผลทำให้เหงือกอักเสบได้ง่ายกว่าคนปกติและพบว่า กลุ่มเด็กปฐมวัยเริ่มมีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 3 ตั้งแต่อายุ 9 เดือน และเพิ่มเป็นร้อยละ 51.7 เมื่ออายุ 3 ปี และจะเพิ่มสูงมากขึ้น ร้อยละ 97.5 เมื่ออายุ 5 ปี จากผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งล่าสุดยังพบว่า เด็กวัยเรียนที่เริ่มมีฟันแท้ขึ้นในปากช่วงอายุ 12 ปี ร้อยละ 52.3 เป็นโรคฟันผุ และร้อยละ 50 พบเหงือกอักเสบ โดยปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อสภาวะทันตสุขภาพคือ การแปรงฟัน พฤติกรรมการบริโภคอาหาร เช่น ขนมกรุบกรอบ ลูกอม และเครื่องดื่มน้ำตาลสูง กลุ่มวัยรุ่นและ วัยทำงาน มีปัญหาสภาวะเหงือกอักเสบ ร้อยละ 39.3 และยังพบปัญหาโรคฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 35.2 และพบโรคปริทันต์รุนแรงที่เสี่ยงต่อการสูญเสียฟัน ร้อยละ 15.6 ซึ่งส่วนหนึ่งจะพบภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่า ปัญหาหลักคือ ไม่มีฟันธรรมชาติเหลือพอในการบดเคี้ยวอาหาร และยังพบว่า ผู้สูงอายุ 60-74 ปี สูญเสียฟันบางส่วนร้อยละ 88.3 สูญเสียฟันทั้งปากร้อยละ 7.2 และมีอัตราการสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามอัตราการเพิ่มขึ้นของอายุ จึงจำเป็นต้องรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพ และรักษาสุขภาพในช่องปากอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันโรคฟันผุยังคงเป็นปัญหาทางทันตสาธารณสุขของประเทศไทย จากผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งล่าสุดยังพบว่า ความชุกในการเกิดโรคฟันผุลดลงจากเดิมเพียงเล็กน้อย จึงนับว่ายังคงเป็นปัญหาที่ต้องการการป้องกันและแก้ไข การใช้ฟลูออไรด์เป็นวิธีที่ยอมรับกันทั่วไปว่าสามารถป้องกันฟันผุได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลในการป้องกันฟันผุของฟลูออไรด์เป็นผลเฉพาะที่บนผิวฟันและบริเวณรอบ ๆ ตัวฟัน (topicaleffect) มากกว่าผลจากทางระบบ (systemic effect) กลไกหลักที่สำคัญของฟลูออไรด์ในการป้องกันฟันผุคือ การส่งเสริมการสะสมของแร่ธาตุที่ผิวฟัน (enhancement of tooth mineralization) และทำให้เกิดการย้อนกลับของการละลายตัวของแร่ธาตุที่ผิวฟัน (reversal of tooth demineralization) ดังนั้นฟลูออไรด์วานิชจึงมีประสิทธิภาพโดยเราเริ่มทาฟลูออไรด์ตั้งแต่ฟันซี่แรก ช่วงเด็กอายุประมาณ 6 เดือน ในการป้องกันฟันผุร้อยละ 43 ในฟันแท้ และร้อยละ 33 ในฟันน้ำนม ซึ่งสามารถใช้เสริมจากยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ในเด็กที่มีความเสี่ยงของการเกิดฟันผุสูงได้ โดยอยู่ในดุลยพินิจของทันตแพทย์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกันและรักษาทันตสุขภาพ เพื่อมีสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม
  2. สำรวจกลุ่มเป้าหมาย
  3. ดำเนินการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 237
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เด็กแรกเกิด ถึง 6 เดือน 6

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียนและ เด็กวัยเรียน เยาวชน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ80
2. เด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน เยาวชนมีสุขภาพช่องปากดีขึ้น ร้อยละ80 3. เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียน เยาวชน มีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ร้อยละ100 4. เพื่อให้เด็กเล็ก เด็กก่อนวัยเรียน และเด็กวัยเรียนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 343
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 237
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
เด็กแรกเกิด ถึง 6 เดือน 6

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม (2) สำรวจกลุ่มเป้าหมาย (3) ดำเนินการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพ ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวเด่น ปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด