กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านจันนา ปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นายปิยเรศ คงพรม

ชื่อโครงการ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านจันนา ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-50105-01-05 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านจันนา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านจันนา ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านจันนา ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-50105-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า ในปี 2552 ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีจำนวน 108 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 422 ล้านคน ในปี 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรทั่วโลกที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 หรือเมื่อเปรียบเทียบแล้ว พบว่า ปัจจุบันประชากรวัยผู้ใหญ่ 1 ใน 11 คนป่วยเป็นโรคเบาหวาน ส่วนในประเทศไทย จากรายงานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราตายด้วยโรคเบาหวานต่อประชากรแสนคน ในภาพรวมของประเทศในปี 2556 - 2558 เท่ากับ 14.93, 17.53 และ 17.83 ตามลำดับ เห็นได้ว่า อัตราการตายด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปี และจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกายในประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ครั้งที่ 3, 4 และ 5 (ปี 2547, 2552 และ 2557) พบว่า ความชุกของโรคเบาหวาน ของครั้งที่ 3 ร้อยละ 7 ใกล้เคียงกับครั้งที่ 4 ร้อยละ 6.9 ส่วนครั้งที่ 5 เพิ่มสูงขึ้นเป็น ร้อยละ 8.8 (คิดเป็น 4.8 ล้านคน)นอกจากนี้ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2551 ยังพบว่าประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกในการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานเฉลี่ย 1,172 บาทต่อราย ส่วนผู้ป่วยในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเฉลี่ย 10,217 บาทต่อราย รวมค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้น 3,984 ล้านบาทต่อปี หากคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวาน รวม 3 ล้านคนต่อปี มารับบริการที่สถานพยาบาล จะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลทั้งสิ้นประมาณ 47,596 ล้านบาทต่อปี
จังหวัดพัทลุงมีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95อำเภอควนขนุนมีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และ มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2561 – 2566ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 4.615, 5.158, 5.483, 5.481 ต่อแสนประชากร ตามลำดับจากสถิติการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของประชากรกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไป รพ.สต.บ้านจันนา ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงปี ๒๕66คัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปดำเนินการคัดกรอง จำนวน 429 คนพบว่า กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน 83คน ร้อยละ 38.95 และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 4คน ร้อยละ 1.84 คัดกรองโรคความดันโลหิต กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 372 คน พบกลุ่มแฝง/เสี่ยงจำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 23.01 กลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 36 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.45 การที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
  2. เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง
  4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรค(SBP=120-139 mmHg.หรือ DBP=80-89 mmHg.) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  5. 5 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และเข้าสู่ระบบการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในชุมชน โดยการวัดความดัน และเจาะปลายนิ้วโดย อสม และเจ้าหน้าที่
  2. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยตามหลัก 3 อ 2 ส
  3. ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
  4. ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (SBP=120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 450
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบรพ.สต. บ้านจันนาหมู่ 7 และหมู่ 8ตำบลชะมวง 1. อัตราการป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ ไม่เกิน ร้อยละ 1.75 2. อัตราการป่วยโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 5 3 กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วย โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่เป็นผู้ป่วยรายใหม่ ร้อยละ 5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ยังไม่เป็นโรคเบาหวานได้รับการคัดกรองร้อยละ 90
0.00 90.00

 

2 เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ยังไม่เป็นโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 90
0.00 90.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมรับการอบรมร้อยละ 90
0.00 5.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรค(SBP=120-139 mmHg.หรือ DBP=80-89 mmHg.) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองได้รับการติดตามวัดความดันที่บ้าน ร้อยละ80
0.00 50.00

 

5 5 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และเข้าสู่ระบบการรักษา
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และเข้าสู่ระบบการรักษา ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 450
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน (2) เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปที่ยังไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 3 อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/สงสัยเป็นโรค(SBP=120-139 mmHg.หรือ DBP=80-89 mmHg.) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (5) 5 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และเข้าสู่ระบบการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในชุมชน โดยการวัดความดัน และเจาะปลายนิ้วโดย อสม และเจ้าหน้าที่ (2) กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยตามหลัก 3 อ 2 ส (3) ติดตามเจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (4) ติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (SBP=120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน รพ.สต.บ้านจันนา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-50105-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปิยเรศ คงพรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด