กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ โครงการการแพทย์แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส) ปี 2567 ”

ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอัสฮา อับดุลรอหมาน

ชื่อโครงการ โครงการการแพทย์แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส) ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2497-1-02 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการแพทย์แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส) ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการแพทย์แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส) ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการแพทย์แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส) ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะปอเยาะ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2497-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยมีแนวโน้มสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ซึ่งกลุ่มผู้สูงอายุนี้เป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยเรื้อรัง ซึ่งเป็นปัญหาที่ซับซ้อนทั้งในด้านสุขภาพและสังคมการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านภาวะสุขภาพ แบบแผนการเกิดโรคได้เปลี่ยนมาเป็นการเสื่อมสภาพของร่างกายตามวัย และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นความเจ็บป่วยเรื้อรังที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ปัญหาปวดข้อทำให้ผู้สูงอายุเกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหว อันเป็นภาระต่อตนเองและผู้ดูแลก่อให้เกิดปัญหาทางด้านคุณภาพชีวิตและจิตใจ อีกทั้งสูญเสียเวลาและค่ารักษาเป็นจำนวนมากจากการคัดกรองตามแบบคัดกรองผู้สูงอายุ (Basic Geriatric Screening : BGS) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่ามีประชากรผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลาที่ได้รับการคัดกรองอาการปวดเข่า มีผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า ซึ่งเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม คิดเป็นร้อยละ 9.74 นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุในตำบลตะปอเยาะที่ได้รับการคัดกรองดังกล่าว มีอาการปวดเข่าซึ่งเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม คิดเป็นร้อยละ 8.04
ปัจจุบันการรักษาโรคเข่าเสื่อมยังไม่ได้รับการดูแลอย่างจริงจังแม้แต่ตัวผู้ป่วยก็ยังขาดความรู้ในการดูแลตนเอง และมักจะหันไปพึ่งยาซึ่งการรับประทานยาเป็นเวลานานทำให้เกิดอาการข้างเคียงและมีผลเสียต่อร่างกาย ดังนั้นการบำบัดแบบไม่ใช้ยาหรือการบำบัดด้วยการแพทย์ทางเลือกจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจในการรักษาโรคเข่าเสื่อม ด้วยวิธีการการพอกยาสมุนไพรด้วยสูตรยาพอกสมุนไพรสูตรเย็น และสูตรร้อนตามอาการของผู้สูงอายุแต่ละราย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง
  2. 2.เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าแก่ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่าและเข่าเสื่อม
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพอกยาสมุนไพรด้วยสูตรยาพอกสมุนไพรสูตรเย็น และสูตรร้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเข่า สาเหตุ อาการ การดูแลตนเอง และวิธีการใช้สมุนไพรใกล้ตัวในการพอกเข่า การนวดเข่า และการใช้เครื่องช่วยนวดในการบรรเทาอาการปวดเข่า และเข่าเสื่อม
  2. กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติการการใช้ยาสมุนไพรในการพอกเข่าแก่ผู้สูงอายุ การพอกเข่าด้วยสมุนไพรสูตรเย็น
  3. กิจกรรมที่ 3 ปฏิบัติการการใช้ยาสมุนไพรในการพอกเข่าแก่ผู้สูงอายุ การพอกเข่าด้วยสมุนไพรสูตรร้อน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีอาการปวดเข่าทุเลาลง การรักษาด้วยหัตถการด้านการแพทย์แผนไทยด้วยวิธีการพอกเข่าเป็นที่รู้จักแพร่หลายมากขึ้นซึ่งเป็นการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น นำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้เกิดประโยชน์ โดยการนำมาเป็นส่วนประกอบของการพอกเข่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยโรคปวดเข่าหรือข้อเข่าเสื่อม เพราะมีความสะดวก ปลอดภัยและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีทางเลือกในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อมเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง
0.00

 

2 2.เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าแก่ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่าและเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90ของผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่าเสื่อม มีอาการปวดเข่าลดลง
0.00

 

3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพอกยาสมุนไพรด้วยสูตรยาพอกสมุนไพรสูตรเย็น และสูตรร้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุ ที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง (2) 2.เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าแก่ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่าและเข่าเสื่อม (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุ  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพอกยาสมุนไพรด้วยสูตรยาพอกสมุนไพรสูตรเย็น และสูตรร้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเข่า สาเหตุ อาการ การดูแลตนเอง และวิธีการใช้สมุนไพรใกล้ตัวในการพอกเข่า การนวดเข่า และการใช้เครื่องช่วยนวดในการบรรเทาอาการปวดเข่า และเข่าเสื่อม (2) กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติการการใช้ยาสมุนไพรในการพอกเข่าแก่ผู้สูงอายุ การพอกเข่าด้วยสมุนไพรสูตรเย็น (3) กิจกรรมที่ 3 ปฏิบัติการการใช้ยาสมุนไพรในการพอกเข่าแก่ผู้สูงอายุ การพอกเข่าด้วยสมุนไพรสูตรร้อน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการแพทย์แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ(ชราธิวาส) ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2497-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัสฮา อับดุลรอหมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด