กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค NCD ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายรุสลาม ชาลี

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค NCD ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-1-26 เลขที่ข้อตกลง 47/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค NCD ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค NCD ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค NCD ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L6961-1-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาระโรค และ อัตราการเสียชีวิตอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30 - 69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญประกอบด้วยโรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 38 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 68 ของการเสียชีวิต) ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาหลังจากนั้น มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยและคงที่ในปีพ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ชายสูงกว่าเพศหญิง (กรมควบคุมโรค, 2562) ซึ่งชุมชนบือเรงใน ตำบลสุไหงโก-ลก มี 188 หลังคาเรือน, ประชากรทั้งหมด 738 ราย เพศชาย 372 ราย เพศหญิง 366 ราย อายุ 0 - 5 ปี 52 ราย (เพศชาย 27 ราย, เพศหญิง 25 ราย), อายุ 6 – 14 ปี 122 ราย (เพศชาย 71 ราย, เพศหญิง 51 ราย) อายุ 15 – 21 ปี 86 ราย (เพศชาย 44 ราย, เพศหญิง 42 ราย), อายุ 16 – 56 ปี 479 ราย (เพศชาย 240 ราย, เพศหญิง 239 ราย), ผู้สูงอายุ 87 ราย (เพศชาย 37, เพศหญิง 50 ราย), ผู้ป่วยติดบ้าน 2 ราย,ติดสังคม 85 ราย, พิการ 1 ราย สถานการณ์โรคสูงสุด 5 อันดับแรก คือ 1. โรคความดันโลหิตสูง(HT) 2.โรคเบาหวาน (DM) 3.โรคไขมันในเลือดสูง (DLP) 4.โรคหัวใจ 5.โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) สำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าว มักเกิดจาก“กรรมพันธุ์และพฤติกรรม” เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้น ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเช่นคนปกติโดยปราศจากโรคแทรกซ้อน จากสถิติของผู้ป่วยชุมชนบือเรงใน ตำบลสุไหงโก-ลก ที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่มารับบริการในศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 ในปี 2566 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (HT) จำนวน 47 ราย, โรคเบาหวาน (DM) จำนวน 9 ราย และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 33 ราย โดยเป็นกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ 15 – 59 ปี และอายุ 60 ปีขึ้นไป ฝ่ายสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ร่วมกับศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 2 เล็งเห็นความสำคัญของคนในชุมชนเพื่อไม่ให้เกิดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยรายใหม่ซึ่งชุมชนมีความพร้อมและประสงค์แก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนของตนเอง จึงได้จัดทำโครงการ“ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค NCD” ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส.
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ.2ส.
  3. เพื่อป้องกันไม่ให้มีกลุ่มเสี่ยง และลดกลุ่มป่วยรายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน และจัดทำเวทีประชาคม
  2. โครงการ “ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค NCD” ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567
  3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารหวาน มัน เค็ม และเมนูเพื่อสุขภาพ และการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567
  4. ติดตามกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการ“ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค NCD” ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 99
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมี ทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  3. ไม่เกิดกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยรายใหม่ ลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยมีสุขภาพดีถ้วนหน้า

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส.
47.00 80.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ.2ส.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ.2ส.
9.00 50.00

 

3 เพื่อป้องกันไม่ให้มีกลุ่มเสี่ยง และลดกลุ่มป่วยรายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของระดับความดันโลหิต/ ระดับน้ำตาลในเลือด รอบเอว ค่า BMI ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
33.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 149
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 99
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความใจในการดูแลสุขภาพตนเองตามหลัก 3อ.2ส. (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ.2ส. (3) เพื่อป้องกันไม่ให้มีกลุ่มเสี่ยง และลดกลุ่มป่วยรายใหม่และลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน และจัดทำเวทีประชาคม (2) โครงการ “ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค NCD” ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567 (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารหวาน มัน เค็ม และเมนูเพื่อสุขภาพ และการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567 (4) ติดตามกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการ“ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค NCD” ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ปีงบประมาณ 2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค NCD ชุมชนบือเร็งใน เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-1-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรุสลาม ชาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด