โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ ”
ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาซีลา ยุนุ๊
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ
ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2536-1-07 เลขที่ข้อตกลง 67-L2536-1-07
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2536-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพของประชากรในประเทศไทยเปลี่ยนจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชนในสังคมไทย ประกอบกับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งส่วนใหญ่เป็นโรคโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมักตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง อาการอัมพฤกษ์หรืออัมพาต ทำให้มีความพิการตามมา จากข้อมูลการคัดกรอง พบว่าจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ภายในปี 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.64 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ยังไม่รวมถึงผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ ได้แก่ ผู้มีภาวะพึ่งพิง คนพิการ ผู้ที่มีภาวะทุพพลภาพ อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ซึ่งกลุ่มผู้มีภาวะเหล่านี้มีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข ขณะเดียวกันก็มีปัญหาในการดำรงชีวิตทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบบริการการดูแลสุขภาพต่อเนื่องในระยะยาวโดยเฉพาะการเข้าถึงบริการด้านอุปกรณ์ทางการแพทย์ เนื่องจากมีต้นทุนสูงในการเข้าถึงบริการและความยุ่งยากที่จะเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมาโรงพยาบาลบ่อยครั้ง โดยเฉพาะในเขตชนบทที่ไม่มียานพาหนะของตนเอง หรือแม้แต่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองก็ยังเข้าถึงบริการได้น้อย ปัญหาสำคัญจากการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงและดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่เกี่ยวกับกายอุปกรณ์และเครื่องช่วยความพิการ มีสาเหตุปัจจัย คือ ความเจริญทางด้านการแพทย์ทำให้ผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีชีวิตรอดเพิ่มขึ้น แต่ก็กลายเป็นผู้ป่วยภาวะพึ่งพิงมากขึ้นเช่นกัน โรงพยาบาลเน้นการดูแลผู้ป่วยระยะเฉียบพลัน แต่ยังขาดการดูแลผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันหรือผู้ป่วย Subacute ในชุมชน และระบบบริการปฐมภูมิมีข้อจำกัดด้านบุคลากรทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพมีปัญหาด้านอุปกรณ์ทางการแพทย์ เมื่อกลับไปดูแลต่อเนื่องที่บ้านเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปีงบประมาณ 2566 กับปีงบประมาณ 2567 มีคนพิการเพิ่มขึ้นจำนวน 8 คน มีผู้พิการที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์การแพทย์ที่บ้าน จำนวน 5 คน ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจำนวน 15 คน ผู้สูงอายุติดบ้านรายใหม่เพิ่มขึ้น 4 คน และมีผู้ป่วยหลอดเลือดสมองรายใหม่เพิ่มขึ้นจำนวน 6 คน และอาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ แต่เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงประกอบกับผู้ดูแลต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้งานที่ถูกต้อง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ เคยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานศูนย์ยืมอุปกรณ์การแพทย์แล้ว แต่พบว่วัสดุและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการเพิ่มเติม และให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพสามารถเข้าถึงบริการ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
- เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
- เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
- เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
- ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุ
- 2.กิจกรรมบริการอุปกรณ์ เครื่องมือจำเป็นในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
- 3. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์ในตำบลปูโยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
2
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
7
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
9
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ดูแลมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
- ผู้สูงอายุ ผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงมีวัสดุและอุปกรณ์ไว้ใช้ยามจำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ไม่สามารถดำเนินการกิจกรรมตามแผนการดำเนินโครงการที่กำหนดไว้ เนื่องจากผู้รับผิดชอบโครงการมีคำสั่งย้ายให้ช่วยปฏิบัติราชการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งใหม่ ในช่วงเวลาระหว่างดำเนินโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
6.00
3.00
3.00
หลังได้รับการดูแลผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
2
เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
2.00
6.00
6.00
ผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
3
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
16.00
10.00
10.00
ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
4
เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
ตัวชี้วัด : แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น
12.00
12.00
12.00
มีการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคลของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
5
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
15.00
10.00
10.00
ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานมีจำนวนลดลง
6
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
42.00
15.00
15.00
ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีจำนวนลดลง
7
เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
5.00
5.00
5.00
ผู้พิการที่จำเป็นต้องได้รับกายอุปกรณ์ ได้รับกายอุปกรณ์
8
เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
3.00
3.00
3.00
ผู้พิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย มีจำนวนลดลง
9
ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
5.00
80.00
80.00
ผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
2
กลุ่มวัยทำงาน
7
กลุ่มผู้สูงอายุ
7
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
9
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (4) เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ (5) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (6) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (7) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต (8) เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย (9) ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุ (2) 2.กิจกรรมบริการอุปกรณ์ เครื่องมือจำเป็นในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (3) 3. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์ในตำบลปูโยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีไม่เพียงพอต่อภาระงานที่ต้องรับผิดชอบ
การบูรณาการโครงการที่มีความเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อลดภาระงานของผู้รับผิดชอบโครงการ
โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2536-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปาซีลา ยุนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ ”
ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาซีลา ยุนุ๊
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2536-1-07 เลขที่ข้อตกลง 67-L2536-1-07
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2536-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพของประชากรในประเทศไทยเปลี่ยนจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตประจำวันของประชาชนในสังคมไทย ประกอบกับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งส่วนใหญ่เป็นโรคโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมักตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง อาการอัมพฤกษ์หรืออัมพาต ทำให้มีความพิการตามมา จากข้อมูลการคัดกรอง พบว่าจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ภายในปี 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.64 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ยังไม่รวมถึงผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงผู้อื่นในการดูแลสุขภาพ ได้แก่ ผู้มีภาวะพึ่งพิง คนพิการ ผู้ที่มีภาวะทุพพลภาพ อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ซึ่งกลุ่มผู้มีภาวะเหล่านี้มีความยากลำบากในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข ขณะเดียวกันก็มีปัญหาในการดำรงชีวิตทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบบริการการดูแลสุขภาพต่อเนื่องในระยะยาวโดยเฉพาะการเข้าถึงบริการด้านอุปกรณ์ทางการแพทย์ เนื่องจากมีต้นทุนสูงในการเข้าถึงบริการและความยุ่งยากที่จะเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมาโรงพยาบาลบ่อยครั้ง โดยเฉพาะในเขตชนบทที่ไม่มียานพาหนะของตนเอง หรือแม้แต่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองก็ยังเข้าถึงบริการได้น้อย ปัญหาสำคัญจากการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงและดูแลต่อเนื่องที่บ้านที่เกี่ยวกับกายอุปกรณ์และเครื่องช่วยความพิการ มีสาเหตุปัจจัย คือ ความเจริญทางด้านการแพทย์ทำให้ผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีชีวิตรอดเพิ่มขึ้น แต่ก็กลายเป็นผู้ป่วยภาวะพึ่งพิงมากขึ้นเช่นกัน โรงพยาบาลเน้นการดูแลผู้ป่วยระยะเฉียบพลัน แต่ยังขาดการดูแลผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันหรือผู้ป่วย Subacute ในชุมชน และระบบบริการปฐมภูมิมีข้อจำกัดด้านบุคลากรทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพมีปัญหาด้านอุปกรณ์ทางการแพทย์ เมื่อกลับไปดูแลต่อเนื่องที่บ้านเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปีงบประมาณ 2566 กับปีงบประมาณ 2567 มีคนพิการเพิ่มขึ้นจำนวน 8 คน มีผู้พิการที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์การแพทย์ที่บ้าน จำนวน 5 คน ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจำนวน 15 คน ผู้สูงอายุติดบ้านรายใหม่เพิ่มขึ้น 4 คน และมีผู้ป่วยหลอดเลือดสมองรายใหม่เพิ่มขึ้นจำนวน 6 คน และอาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ แต่เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพงประกอบกับผู้ดูแลต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้งานที่ถูกต้อง และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปูโยะ เคยได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานศูนย์ยืมอุปกรณ์การแพทย์แล้ว แต่พบว่วัสดุและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการเพิ่มเติม และให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพสามารถเข้าถึงบริการ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
- เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
- เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
- เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
- ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุ
- 2.กิจกรรมบริการอุปกรณ์ เครื่องมือจำเป็นในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
- 3. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์ในตำบลปูโยะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 2 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 7 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 9 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ดูแลมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
- ผู้สูงอายุ ผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงมีวัสดุและอุปกรณ์ไว้ใช้ยามจำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ไม่สามารถดำเนินการกิจกรรมตามแผนการดำเนินโครงการที่กำหนดไว้ เนื่องจากผู้รับผิดชอบโครงการมีคำสั่งย้ายให้ช่วยปฏิบัติราชการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งใหม่ ในช่วงเวลาระหว่างดำเนินโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง |
6.00 | 3.00 | 3.00 | หลังได้รับการดูแลผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง |
2 | เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น |
2.00 | 6.00 | 6.00 | ผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น |
3 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง |
16.00 | 10.00 | 10.00 | ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง |
4 | เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ ตัวชี้วัด : แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น |
12.00 | 12.00 | 12.00 | มีการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคลของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น |
5 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด |
15.00 | 10.00 | 10.00 | ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานมีจำนวนลดลง |
6 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
42.00 | 15.00 | 15.00 | ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงมีจำนวนลดลง |
7 | เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต |
5.00 | 5.00 | 5.00 | ผู้พิการที่จำเป็นต้องได้รับกายอุปกรณ์ ได้รับกายอุปกรณ์ |
8 | เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย |
3.00 | 3.00 | 3.00 | ผู้พิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย มีจำนวนลดลง |
9 | ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : |
5.00 | 80.00 | 80.00 | ผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 2 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 7 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 7 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 9 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (4) เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ (5) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (6) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (7) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต (8) เพื่อลดร้อยละของคนพิการที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมหรือที่อยู่อาศัยเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย (9) ร้อยละของผู้ดูแล สุขภาพผู้พิการมีศักยภาพ เพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้พิการ ผู้สูงอายุ (2) 2.กิจกรรมบริการอุปกรณ์ เครื่องมือจำเป็นในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (3) 3. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เครื่องมือแพทย์ในตำบลปูโยะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีไม่เพียงพอต่อภาระงานที่ต้องรับผิดชอบ |
|
การบูรณาการโครงการที่มีความเชื่อมโยงเข้าด้วยกันเพื่อลดภาระงานของผู้รับผิดชอบโครงการ |
โครงการส่งเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้สูงอายุ ในตำบลปูโยะ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2536-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปาซีลา ยุนุ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......