กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา รัตนสุริยา

ชื่อโครงการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-1-13 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L6961-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 124 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนสุขภาพชุมชน หมายถึง แผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชนเพื่อประชาชนเป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและรับผลประโยชน์โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหาด้านสุขภาพ และการประเมินศักยภาพของชุมชนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเองโดยคำนึงถึงศักยภาพทรัพยากรภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชนกระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตนเองตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพและร่วมติดตามประเมินผลและเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของบุคคลที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายด้านที่ผสมผสานกันอันได้แก่ปัจจัยส่วนบุคคลที่มาจากพันธุกรรมเจตคติความรู้และความเข้าใจปัจจัยด้านครอบครัวชุมชนสังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กลวิธีดำเนินงานในหลายวิธีและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ต่อเนื่องโดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและโดยเฉพาะบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพเองดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสุขภาพและเพื่อเป็นการส่งเสริม ป้องกันโรคในชุมชนจึงจำเป็นจะต้องมีการจัดทำข้อมูลและจัดทำแผนงานที่ใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานดังกล่าวและมีภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องโดยการจัดทำแผนงานดังกล่าวอาจใช้เครื่องมือ เช่น แผนสุขภาพชุมชนแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์เป็นต้น เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการให้บริการและช่วยเหลือประชาชนควบคุมดูแลและรับผิดชอบการปฏิบัติงานในด้านการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคที่ดำเนินการโดยชุมชนซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนในชุมชน
  2. เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคของคนในชุมชน แนวโน้มของปัญหา กลุ่มเสี่ยง รวมทั้งการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงาน 10
ตัวแทน อสม. ใน 31 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน 62
ตัวแทนคณะกรรมการชุมชนใน 31 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน 62

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนมีส่วนร่วมและร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนในชุมชน
  2. ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคของคนในชุมชนแนวโน้มของปัญหา กลุ่มเสี่ยง รวมทั้งการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย
- ตัวแทนคณะกรรมการชุมชนใน 31 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน = 62 คน
- ตัวแทน อสม. ใน 31 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน = 62 คน
- คณะทำงาน 10 คน
รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น 134 คน
วิธีดำเนินการ
- เชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่มาเป็นวิทยากรสะท้อนปัญหาทางด้านสุขภาพในพื้นที่แต่ละพื้นที่
- จัดอบรมตามกำหนดการจำนวน4 รุ่น รุ่นละครึ่งวัน (รวม 2 วัน) ดังนี้
รุ่นที่ 1 โซนสันติภาพ
รุ่นที่ 2 โซนสายชล
รุ่นที่ 3 โซนย่านการค้า
รุ่นที่ 4 โซนขวัญประชา
กำหนดการ
8.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 12.00 น. บรรยายปัญหาสาธารณสุขในชุมชนแต่ละพื้นที่โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ (เจ้าหน้าที่ศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1,2) และบรรยายแนวทางการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ และสรุปผลแผนสุขภาพของชุมชนตนเอง
งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (ผู้เข้าอบรม) 30 บาท × 124 คน × 1 มื้อ เป็นเงิน 4,020 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน (คณะทำงาน) 60 บาท × 10 คน x 2 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (คณะทำงาน) 30 บาท × 10 คน x 2 มื้อ × 2 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย 600 บาท x 3 ชม. x 4 รุ่น เป็นเงิน 7,200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ เอกสารในการประชุม แฟ้ม ปากกา เป็นต้น เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมและร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคของคนในชุมชน แนวโน้มของปัญหา กลุ่มเสี่ยง รวมทั้งการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคของคนในชุมชนแนวโน้มของปัญหา กลุ่มเสี่ยง รวมทั้งการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 134
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 10
ตัวแทน อสม. ใน 31 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน 62
ตัวแทนคณะกรรมการชุมชนใน 31 ชุมชน ชุมชนละ 2 คน 62

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคของคนในชุมชน แนวโน้มของปัญหา กลุ่มเสี่ยง รวมทั้งการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างแผนสุขภาพชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาวะแก่ชุมชน ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L6961-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพนิดา รัตนสุริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด