กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร


“ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุดารัตน์ ศรีเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5211-01-02 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5211-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอับดับ ๑ และ ๒ ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติปี ๒๕๖๖ พบว่าโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสัดส่วนร้อยละ ๓๑.๔ ของมะเร็งทุกชนิดในสตรี โรคมะเร็งที่พบรองลงมา ได้แก่ โรคมะเร็งเต้านม, โรคมะเร็งช่องปาก, โรคมะเร็งปอด และโรคมะเร็งรังไข่ ฯลฯ ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งฯลดลง กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้บรรจุแผนงาน/โครงการเกี่ยวกับโรคดังกล่าวขึ้น โดยกำหนดตัวชี้วัดคือ สตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจ PAP smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ (ผลงาน ๑ ต.ค.๒๕๖๕ ถึง ๓๐ ก.ย.๒๕๖๖) และสตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๗๐ ปี ต้องได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองจากเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครสาธารณสุข ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ซึ่งจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในรอบ ๕ ปี ถึงเดือนปัจจุบัน ตั้งแต่ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลาพบว่า จำนวนผู้มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ร้อยละ ๗๙.๕๓ (จากฐานข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖) ผลงานตรวจมะเร็งปากมดลูกในรอบ ๑ ปี (ผลงาน ๑ ต.ค.๒๕๖๕ ถึง ๓๐ ก.ย.๒๕๖๖) ร้อยละ ๑๗.๙๔ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ และสตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๗๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองจากเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครสาธารณสุข ร้อยละ ๕๕.๓๒ (จากฐานข้อมูล HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖) ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามเป้าหมายที่กำหนดและประกอบกับได้พบเห็นผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมได้รับความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วย รัฐบาลและผู้เกี่ยวข้องต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมอยู่อย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถค้นหาโรคมะเร็งในระยะเริ่มต้น, สามารถให้การช่วยเหลือดูแล รักษาได้ ผู้ป่วยก็จะไม่ต้องทุกข์ทรมานมากและก็จะสามารถมีอายุที่ยืนยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราะห์ตามสถานการณ์พบว่า งานการเฝ้าระวังการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่ค่อยมารับบริการ ทั้งนี้เพราะสตรีเป็นเพศที่มีความละอาย มีความอดทน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสตรีที่อยู่ในชนบทจะมีความอดทนสูง ความละอาย ความไม่กล้า และความอดทนที่มีอยู่นี้ก็อาจจะเป็นทั้งคุณและโทษในคราวเดียวกันได้ เช่น เมื่อมีความผิดปกติเกี่ยวกับเรื่องของอวัยวะเพศแล้วไม่กล้าพูด ไม่กล้าบอกใคร ถึงเจ็บปวดก็มีความอดทน
สิ่งนี้หากเขาเป็นโรคร้ายก็อาจสายเกินแก้ที่ไม่สามารถช่วยได้ในภายหลัง งานการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจึงเป็นงานยากต่อการปฏิบัติเป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ทีมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร, อาสาสมัครสาธารณสุข และแกนนำองค์กรชุมชน มีความตระหนัก และเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงเกิดแนวความคิดในการทำงานร่วมกัน นำรูปแบบการทำงานเชิงรุกมาใช้ โดยการใช้ศักยภาพของชุมชนที่มีอยู่อย่างเต็มที่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ผสมผสานกับวิทยาการทางการแพทย์สอดแทรกเสริมให้กับกลุ่มพลังมวลชน การที่คนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพให้สมกับความเป็นมนุษยชาติสามารถช่วยเหลือดูแลตนเอง ช่วยเหลือดูแลบุคคลในครอบครัว และบุคคลอื่นในชุมชนให้พ้นจากพิษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม สร้างคนให้เป็นคนดีมีคุณภาพต่อสังคมส่งผลให้ประชาชนในชาติมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอายุยืนยาวสามารถอยู่ในสังคมได้ด้วยความปกติสุขไม่เป็นภาระของประเทศชาติ นับเป็นคุณอนันต์ที่จะก่อให้เกิดกุศลกรรม (คือผลแห่งการกระทำความดี) ของประชาชนในชาติได้เป็นอย่างดียิ่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านหารร่วมกับแกนนำชุมชน จึงได้คิดจัดทำการพัฒนานวัตกรรมทำโครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจหาเซลล์มะเร็งปากมดลูกและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
  2. เพื่อให้สตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสตรีที่มีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนเกิดการตื่นตัวในการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ๒. ประชาชนเกิดความตระหนักถึงพิษภัยของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ๓. ประชาชนมีความต่อเนื่องในการตรวจ ติดตาม และปฏิบัติกันจนเป็นวิถีชีวิตที่ยั่งยืน ๔. ประชาชนในพื้นที่ไม่พบการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจหาเซลล์มะเร็งปากมดลูกและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้สตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสตรีที่มีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจหาเซลล์มะเร็งปากมดลูกและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (2) เพื่อให้สตรีที่มีอายุระหว่าง ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสตรีที่มีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L5211-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุดารัตน์ ศรีเพ็ชร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด