โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ”
ม.1-3, ม.9, ม.11-12
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุชดีย์ หมัดปลอด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
ที่อยู่ ม.1-3, ม.9, ม.11-12 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5192-01-11 เลขที่ข้อตกลง 67-L5192-01-11
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1-3, ม.9, ม.11-12
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1-3, ม.9, ม.11-12 รหัสโครงการ 67-L5192-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุปันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นอันดับตัน ๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือต โรคส้นเลือในสมองอุดตันเป็นตัน ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อน อาหารที่ไม่มีมาตรฐาน อหารแปลกปลอม อาหารสุกๆดิบๆ เป็นต้น ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคในปัจจุบัน พบว่าผู้ประกอบการมีความไม่เพียงพอในการเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ขาดข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ผู้ประกอบการมีแนวโน้มผ่าฝืนหรือละเลยข้อกฎหมายและบางส่วนยังไม่มีความรู้ในเรื่องของข้อกฎหมายต่างๆ และในส่วนอาหารปลอดภัย อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด เป็นปัญหาสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบดูไปด้วย คือ คุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้ผู้คนในสังคมต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอด การใช้ชีวิตของผู้คนคำเนินไปอย่างเร่งรีบและให้ควมสำคัญกับความสะดวกจนบางครั้ง ลืมมองถึงอันตรายที่อยู่รอบตัว การให้ความสำคัญกับความสะดวก ประหยัดเวลาจนกระทั่งละเลยความใสใจ เรื่องพิษภัยที่อยู่รอบตัว ที่เห็นได้ชัดเจนอย่างหนึ่งคือ กล่องโฟมบรรจุอาหารซึ่งเป็นสิ่งที่ตอบสนองชีวิตที่เร่งรีบได้อย่างลงตัว จนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่ขณะเดียวกันก็มีอันตรายที่แฝงมากับกล่องโฟมที่บรรจุอาหาร นอกจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว ปัจจุบันจากการบริโภคอาหารและสินค้าต่างๆของมนุษย์ ก่อให้เกิดขยะขึ้นมากมาย โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์บรรจุอาหารที่ผลิตจากพลาสติก ย่อยสลายยากส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในอนาคต เกิดปัญหาขยะลันชุมชน ปัญหามลพิษทางน้ำ อากาศ ทางทะเล และอื่นๆตามมา จึงส่งเสริมให้ลดการใช้พลาสติกประเภท single use เช่น หลอดดูด แก้วใส่เครื่องดื่ม ถุงหูหิ้ว ถุงพลาสติก เป็นต้น และส่งเสริมสนับสนุนใช้วัสดุ หรือภาชนะที่ทำจากธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริกาสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรู้ป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ แต่จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค พบว่า การใช้เครื่องอุปโภค บริโภคที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่ไม่ได้คุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน และยังจำหน่ายยาบางชนิดที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้กับร้านค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น จากข้อมูลการสำรวจร้านชำ ปี 2566 โดยทีมเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีการตรวจร้านชำ จำนวน 33 ร้าน ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร จำนวน 29 ร้านและโรงอาหารในโรงเรียน จำนวน 8 โรงเรียน ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ประกอบการร้านชำในชุมชน
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นการเฝ้าระวังคุณภาพของอาหาร การพัฒนา
และสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ สร้างความตะหนักถึงความสำคัญความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ และเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน สามารถตรวจสอบและเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง
- 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน
- ให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน
- ตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
- ตรวจร้านชำในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มเกษตรกร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ร้านขายของชำ
33
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร
29
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร/โรงเรียน
8
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ประกอบการแผงลอยในชุมชนและผู้ปรุงอาหารในโรงเรียนมีความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากขึ้น
2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำสามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสินค้าสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับประชาชน สามารถลดปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ฝ่าฝืนกฎหมาย และเรื่องร้องเรียนด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง
29.00
2
2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร เคื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
33.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ร้านขายของชำ
33
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร
29
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร/โรงเรียน
8
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง (2) 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน (2) ให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน (3) ตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (4) ตรวจร้านชำในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ (5) กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มเกษตรกร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5192-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรุชดีย์ หมัดปลอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ”
ม.1-3, ม.9, ม.11-12
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุชดีย์ หมัดปลอด
กันยายน 2567
ที่อยู่ ม.1-3, ม.9, ม.11-12 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5192-01-11 เลขที่ข้อตกลง 67-L5192-01-11
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1-3, ม.9, ม.11-12
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1-3, ม.9, ม.11-12 รหัสโครงการ 67-L5192-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุปันจากสถิติการป่วยและเสียชีวิตของคนไทยป่วยด้วยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมเป็นอันดับตัน ๆ เช่น โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือต โรคส้นเลือในสมองอุดตันเป็นตัน ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัย มีสารปนเปื้อน อาหารที่ไม่มีมาตรฐาน อหารแปลกปลอม อาหารสุกๆดิบๆ เป็นต้น ปัญหาการคุ้มครองผู้บริโภคในปัจจุบัน พบว่าผู้ประกอบการมีความไม่เพียงพอในการเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม ขาดข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง ผู้ประกอบการมีแนวโน้มผ่าฝืนหรือละเลยข้อกฎหมายและบางส่วนยังไม่มีความรู้ในเรื่องของข้อกฎหมายต่างๆ และในส่วนอาหารปลอดภัย อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาด เป็นปัญหาสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบดูไปด้วย คือ คุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้ผู้คนในสังคมต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอด การใช้ชีวิตของผู้คนคำเนินไปอย่างเร่งรีบและให้ควมสำคัญกับความสะดวกจนบางครั้ง ลืมมองถึงอันตรายที่อยู่รอบตัว การให้ความสำคัญกับความสะดวก ประหยัดเวลาจนกระทั่งละเลยความใสใจ เรื่องพิษภัยที่อยู่รอบตัว ที่เห็นได้ชัดเจนอย่างหนึ่งคือ กล่องโฟมบรรจุอาหารซึ่งเป็นสิ่งที่ตอบสนองชีวิตที่เร่งรีบได้อย่างลงตัว จนได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แต่ขณะเดียวกันก็มีอันตรายที่แฝงมากับกล่องโฟมที่บรรจุอาหาร นอกจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว ปัจจุบันจากการบริโภคอาหารและสินค้าต่างๆของมนุษย์ ก่อให้เกิดขยะขึ้นมากมาย โดยเฉพาะบรรจุภัณฑ์บรรจุอาหารที่ผลิตจากพลาสติก ย่อยสลายยากส่งผลต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในอนาคต เกิดปัญหาขยะลันชุมชน ปัญหามลพิษทางน้ำ อากาศ ทางทะเล และอื่นๆตามมา จึงส่งเสริมให้ลดการใช้พลาสติกประเภท single use เช่น หลอดดูด แก้วใส่เครื่องดื่ม ถุงหูหิ้ว ถุงพลาสติก เป็นต้น และส่งเสริมสนับสนุนใช้วัสดุ หรือภาชนะที่ทำจากธรรมชาติหรือผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริกาสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรู้ป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ แต่จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค พบว่า การใช้เครื่องอุปโภค บริโภคที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่ไม่ได้คุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน และยังจำหน่ายยาบางชนิดที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้กับร้านค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น จากข้อมูลการสำรวจร้านชำ ปี 2566 โดยทีมเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค มีการตรวจร้านชำ จำนวน 33 ร้าน ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร จำนวน 29 ร้านและโรงอาหารในโรงเรียน จำนวน 8 โรงเรียน ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล จึงมีความจำเป็นต้องดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ประกอบการร้านชำในชุมชน
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัย และผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านชำ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นการเฝ้าระวังคุณภาพของอาหาร การพัฒนา
และสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการ สร้างความตะหนักถึงความสำคัญความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ และเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้าน สามารถตรวจสอบและเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง
- 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน
- ให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน
- ตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
- ตรวจร้านชำในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มเกษตรกร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ร้านขายของชำ | 33 | |
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร | 29 | |
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร/โรงเรียน | 8 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ประกอบการแผงลอยในชุมชนและผู้ปรุงอาหารในโรงเรียนมีความรู้ในเรื่องสุขาภิบาลอาหาร ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากขึ้น 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำสามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสินค้าสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับประชาชน สามารถลดปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ฝ่าฝืนกฎหมาย และเรื่องร้องเรียนด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง |
29.00 |
|
||
2 | 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร เคื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
33.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ร้านขายของชำ | 33 | ||
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร | 29 | ||
ร้านแผงลอย/ร้านอาหาร/โรงเรียน | 8 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาลอาหารอย่างถูกต้อง (2) 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำ มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ผู้ประกอบการแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียน (2) ให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน (3) ตรวจประเมินแผงลอยจำหน่ายอาหารในชุมชนและโรงเรียนให้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (4) ตรวจร้านชำในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ (5) กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มเกษตรกร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหารปลอดภัยเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5192-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรุชดีย์ หมัดปลอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......