กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร


“ โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน PLUS สู่ ๒,๕๐๐ วัน เด็กไทยพัฒนาการสมวัย เก่ง ดี มีสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ”

ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอำภา ยังดี

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน PLUS สู่ ๒,๕๐๐ วัน เด็กไทยพัฒนาการสมวัย เก่ง ดี มีสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๗

ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5290-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน PLUS สู่ ๒,๕๐๐ วัน เด็กไทยพัฒนาการสมวัย เก่ง ดี มีสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน PLUS สู่ ๒,๕๐๐ วัน เด็กไทยพัฒนาการสมวัย เก่ง ดี มีสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๗



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน PLUS สู่ ๒,๕๐๐ วัน เด็กไทยพัฒนาการสมวัย เก่ง ดี มีสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5290-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงาน มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐วันแรกของชีวิต ไปสู่ “ตำบลมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน Plus(พลัส)สู่๒,๕๐๐ วัน” ตำบลสาครได้ที่มีการดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทยเติบโตเต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล สอดคล้องนโยบายรัฐบาลขับเคลื่อนประเทศสู่เศรษฐกิจและสังคม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๗๐ คือ เด็กปฐมวัยทุกคน ต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน เต็มตามศักยภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมระดมทรัพยากรที่เพียงพอ

    ทั้งนี้ในช่วง ๑,๐๐๐ วันมหัศจรรย์เป็นช่วงสำคัญ เป็นจุดเริ่มต้นของชีวิต ในการปูพื้นฐานของชีวิตคนไทยสู่อนาคตที่ดี ให้เด็กไทยฉลาด พัฒนาการสมวัย สูงสมส่วน แบ่งเป็น ๓ ช่วงที่ (๑) ๒๗๐ วันแรกระหว่างการตั้งครรภ์ เป็นช่วงเวลาสำคัญของการสร้างเซลล์สมองควบคู่กับการสร้างเส้นใยประสาทเร็วที่สุด เด็กได้รับสารอาหารที่เพียงพอและหลากหลาย เสริมธาตุไอโอดีน เหล็ก โฟลิก ช่วงที่ (๒) ๑๘๐ วัน แรกเกิด-6เดือน เป็นช่วงที่ร่างกายและสมองของเด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว การได้รับนมแม่ตั้งแต่ชั่วโมงแรงของชีวิต การโอบกอดและเล่นกับลูกส่งผลให้ลูกเจริญเติบโตดี มีพัฒนาการทางด้านร่างกายและอารมณ์ดี  ช่วงที่ (๓) ๕๕๐ วัน อายุ ๖ เดือน - ๒ ปี เน้นการเป็นเด็กฉลาด      มีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน ทำด้วยการให้อาหารที่เหมาะสมตามวัย ควบคู่การดื่มนมแม่ให้นานที่สุด ช่วงที่ (๔) ๑,๐๕๐ วัน อายุ ๒ ปี - ๕ ปี ส่งเสริมครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็ง ด้วยกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน และลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเจริญเติบโต จะทำให้ทารกพัฒนาเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพสูง ในที่สุด มีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข มีการพัฒนาคลินิกฝากครรภ์(ANC) คุณภาพ ในหญิงตั้งครรภ์ ดูแลการคลอด ปลอดภัยทั้งแม่และทารก พัฒนาคลินิกเด็กสุขภาพดีเด็ก(WCC) คุณภาพ ได้รับการเลี้ยงดูตามวัย เป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ ๑๔ ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า ๒,๕๐๐กรัม ไม่เกินร้อยละ ๗ เด็กอายุ ๐-๕ ปีภาวะโภชนาการ สูงดี สมส่วนตามวัย ร้อยละ ๖๖ เด็กมีภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ ๑๐ เด็กมีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ ๕ เด็กมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ ๙ และมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๘๕ เด็กอายุ ๓ ปี ปราศจากฟันผุ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ )เด็กมีพัฒนาการสมวัย ไอคิว อีคิว ดี ทำให้เด็กเติบโดเป็นคนที่มีคุณภาพ เก่งดี มีสุข     จากการติดตามภาวะโภชนาการเขตรับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทางยาง  หญิงตั้งครรภ์รับบริการฝากครรภ์ปีงบประมา ๒๕๖๖ ทั้งหมด ๑๖ คน ในเด็ก ๐–๕ ปี ไตรมาส ๔ ปีงบประมาณ ๒๕๖๖        ผลเด็กเตี้ย ๘ คนร้อยละ ๓.๗๖ ค่อนข้างผอม ๑๑ คนร้อยละ ๕.๑๖ และเด็กเริ่มอ้วนและอ้วน ๒ คนร้อยละ ๐.๙๔  มีพัฒนาการสมวัย ปี๒๕๖๖ จำนวน ๒๑๓ คน ร้อยละ ๘๖.๒๓ ข้อมูลจาก HDCปี ๒๕๖๖ ตำบลบ้านทางยางมีการดำเนินงานดูแลส่งเสริมสุขภาพและคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทย เติบโต เต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ระดับตำบล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่๑. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจในช่วงอายุ ๑,๐๐๐วัน – ๒,๕๐๐วันแรกของชีวิต จำนวน ...๔๐..คน
  2. ข้อที่๒. อบรม แกนนำสุขภาพครอบครัว เพื่อทำความเข้าใจในการประชาสัมพันธ์หญิงตั้งครรภ์ในหมู่บ้านฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ พัฒนาการของเด็กตามขบวนการ และ การได้รับวัคซีน การได้รับยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กตั้งแต่ช่วง อายุ ๖ เดือน - ๕ ปี จำนวน ๔๐ คน
  3. ข้อที่๓. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้ครอบครัว ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและเอาใจใส่สุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด -๕ ปี
  4. ข้อที่๔. เพื่อบรูณาการงานและสร้างความร่วมมือจากครอบครัว ภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆในการพัฒนาสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี
  5. ข้อที่๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ภาวะโภชนาการ สุขภาวะโลหิตจาง จำนวน ๒๔๗ คน
  6. ข้อที่๖. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัยจำนวน ๑๐๐ คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 240
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ในหมู่บ้านฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ มีความรู้ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ๒. หญิงตั้งครรภ์คลอดอย่างปลอดภัย และลูกเกิดรอด และได้รับติดตามเยี่ยมหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ๓. เด็กปฐมวัย ในเด็กช่วงอายุ ๖ เดือน - ๑ ปี และเด็กก่อนประถมวัย ช่วงอายุ ๓ - ๕ ปี ได้ตรวจคัดกรองความเข้มข้นเลือดเพื่อป้องกันโรคภาวะโลหิตจาง ๔. เด็กปฐมวัย ในเด็กช่วงอายุ ๙,๑๘,๓๒,๔๒,๖๐ เดือน ต้องได้รับการตรวจพัฒนาการ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่๑. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจในช่วงอายุ ๑,๐๐๐วัน – ๒,๕๐๐วันแรกของชีวิต จำนวน ...๔๐..คน
    ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางน้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ๒..ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัว น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๗ ๓.หญิงตั้งครรภ์หลังคลอด / ทารกหลังคลอด ตามเกณฑ์ ๓ ครั้ง ร้อยละ ๑๐๐

     

    2 ข้อที่๒. อบรม แกนนำสุขภาพครอบครัว เพื่อทำความเข้าใจในการประชาสัมพันธ์หญิงตั้งครรภ์ในหมู่บ้านฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ พัฒนาการของเด็กตามขบวนการ และ การได้รับวัคซีน การได้รับยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กตั้งแต่ช่วง อายุ ๖ เดือน - ๕ ปี จำนวน ๔๐ คน
    ตัวชี้วัด : ๑. แกนนำสุขภาพครอบครัวมีความรู้ และทักษะในการคัดกรองสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจาง ความรู้เรื่อการส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐ ๒.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีนตลอดการตั้งครรภ์ ร้อยละ ๑๐๐

     

    3 ข้อที่๓. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้ครอบครัว ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและเอาใจใส่สุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด -๕ ปี
    ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๑๐๐ ๒.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพครบ ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ มากกว่า ร้อยละ ๙๐

     

    4 ข้อที่๔. เพื่อบรูณาการงานและสร้างความร่วมมือจากครอบครัว ภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆในการพัฒนาสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี
    ตัวชี้วัด : ๑.เด็กปฐมวัยในเด็กช่วงอายุ ๖ เดือน - ๑ ปี และ เด็กก่อนประถมวัย ช่วงอายุ ๓ - ๕ ปี ได้ตรวจคัดกรองความเข้มข้นเลือดเพื่อป้องกันโรคภาวะโลหิตจางร้อยละ ๑๐๐

     

    5 ข้อที่๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ภาวะโภชนาการ สุขภาวะโลหิตจาง จำนวน ๒๔๗ คน
    ตัวชี้วัด : ๑.เด็กในช่วงอายุ ๖ เดือน – ๕ ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ สุขภาวะโลหิตจาง ร้อยละ ๑๐๐

     

    6 ข้อที่๖. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัยจำนวน ๑๐๐ คน
    ตัวชี้วัด : ๑.เด็กปฐมวัยช่วงอายุ ๙,๑๘,๓๒,๔๒,๖๐ เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 320
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 240
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่๑. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจในช่วงอายุ ๑,๐๐๐วัน – ๒,๕๐๐วันแรกของชีวิต  จำนวน ...๔๐..คน (2) ข้อที่๒. อบรม แกนนำสุขภาพครอบครัว เพื่อทำความเข้าใจในการประชาสัมพันธ์หญิงตั้งครรภ์ในหมู่บ้านฝากครรภ์ก่อน  ๑๒ สัปดาห์  ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ พัฒนาการของเด็กตามขบวนการ และ การได้รับวัคซีน การได้รับยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กตั้งแต่ช่วง อายุ ๖ เดือน - ๕ ปี      จำนวน ๔๐ คน (3) ข้อที่๓. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้ครอบครัว ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและเอาใจใส่สุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด -๕ ปี (4) ข้อที่๔.  เพื่อบรูณาการงานและสร้างความร่วมมือจากครอบครัว ภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆในการพัฒนาสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี (5) ข้อที่๕.  เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ภาวะโภชนาการ สุขภาวะโลหิตจาง จำนวน  ๒๔๗  คน (6) ข้อที่๖. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัยจำนวน ๑๐๐ คน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วัน PLUS สู่ ๒,๕๐๐ วัน เด็กไทยพัฒนาการสมวัย เก่ง ดี มีสุข ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 67-L5290-01-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอำภา ยังดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด