กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด ”

เทศบาล ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอังคณา มรรคาเขต

ชื่อโครงการ โครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด

ที่อยู่ เทศบาล ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-1-2 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-67-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 มีบทบัญญัติให้อำนาจแก่ราชการส่วนท้องถิ่น มีอำนาจกำกับดูแล ในการควบคุมดูแลสถานที่จำหน่ายอาหารหรือสถานที่สะสมอาหาร ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของท้องถิ่น และนโยบายกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสำคัญในเรื่องอาหารปลอดภัยโดยตลอด เพราะอาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อสุขภาพของประชาชน ทั้งในด้านคุณภาพและความสะอาด นอกจากนี้อาหารยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ได้ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาด ปราศจากสารปนเปื้อน เพราะประชาชนมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาดจากผู้ประกอบอาหารขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ผู้สัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในระหว่างการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ปลอดภัย มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จำเป็นต้องมีระบบการดูแล ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร ดังนั้น จะเห็นว่าจากสถานการณ์เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมอย่างรวดเร็วของประเทศไทยในปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมการบริโภคอาหารนอกบ้านมากขึ้น จากเดิมปรุงอาหารรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดจากผู้ประกอบการที่ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ขาดการควบคุมดูแลสถานประกอบการให้ได้มาตรฐาน และถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและข้อกำหนดของท้องถิ่น ซึ่งทำให้อาหารเสี่ยงต่อการปนเปื้อนเชื้อโรคได้
งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคลองขุด ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา จึงได้ทำโครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อเป็นการดูแลคุณภาพของการสุขาภิบาลของร้านอาหาร ควบคุมคุณภาพอาหารที่จำหน่ายให้สะอาด และเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง พัฒนาและยกระดับสถานประกอบการตามหลักสุขาภิบาลอาหาร CFGT (Clean food good taste) จึงเป็นเป้าหมายที่สำคัญ เพื่อให้ได้อาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารปนเปื้อน ที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารแก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาและยกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการ เฝ้าระวัง ดูแล คุณภาพสถานที่จำหน่ายอาหาร แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร
  2. เฝ้าระวัง ดูแล คุณภาพสถานที่จำหน่ายอาหาร แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ตัวแทนผู้ประกอบการสถานที่จำหน่ายอาหาร 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญในการจัดการเฝ้าระวัง ดูแล คุณภาพสถานที่จำหน่ายอาหาร
2.สถานที่จำหน่ายอาหารในพื้นที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร ทำให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารได้มากยิ่งขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาและยกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสถานที่จำหน่ายอาหารได้รับการตรวจสารปนเปื้อน และแบคทีเรียในอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร CFGT (Clean food good taste)
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ตัวแทนผู้ประกอบการสถานที่จำหน่ายอาหาร 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและยกระดับสถานที่จำหน่ายอาหารให้ได้เกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการ เฝ้าระวัง ดูแล คุณภาพสถานที่จำหน่ายอาหาร แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร (2) เฝ้าระวัง ดูแล คุณภาพสถานที่จำหน่ายอาหาร แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสถานที่จำหน่ายอาหารสะอาด ปราศจากโรค เทศบาลตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-67-1-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอังคณา มรรคาเขต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด