กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการ การอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิดStop Motion เพื่อเยาวชนตำบลมะรือโบตก ”



หัวหน้าโครงการ
นายฟัยรุต สะดียามู

ชื่อโครงการ โครงการ การอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิดStop Motion เพื่อเยาวชนตำบลมะรือโบตก

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-2-8 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ การอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิดStop Motion เพื่อเยาวชนตำบลมะรือโบตก จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ การอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิดStop Motion เพื่อเยาวชนตำบลมะรือโบตก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ การอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิดStop Motion เพื่อเยาวชนตำบลมะรือโบตก " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L8302-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน มากกว่าร้อยละ 90 ของวัยรุ่นและเยาวชนไทยสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ส่วนใหญ่เป็นการเข้าถึงผ่านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ทั้งสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ที่มีความสะดวก สามารถใช้ได้ทุกที่ทุกเวลา โดยกิจกรรมที่วัยรุ่นและเยาวชนใช้งานอินเทอร์เน็ตมากที่สุดอันดับแรก (ถึงร้อยละ 98 หรือ เกือบทั้งหมดของวัยรุ่นและเยาวชนที่ใช้อินเทอร์เน็ต) เป็นในเรื่องการติดต่อสื่อสารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social networks) แพลตฟอร์มต่าง ๆ เช่น Facebook Twitter Line และ Instagram เป็นต้น โดยมีสัดส่วน ของผู้ใช้ที่สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับประชากร ในกลุ่มอายุอื่น กิจกรรมบนโลกอินเทอร์เน็ต อันดับ 1 เป็นการเข้าใช้เพื่อสื่อสารบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social network) อันดับ 2 และ 3 เป็นการใช้งานส่วนตัว ส่วนใหญ่เพื่อความบันเทิงในการดาวน์โหลดและ อัพโหลดข้อมูลรูปภาพ วิดีโอ เพลง หรือภาพยนตร์ ในลักษณะการแบ่งปัน หรือ การ “share” บนเว็บไซต์ ขณะที่ กิจกรรมเพื่อการศึกษาเรียนรู้ มีสัดส่วนการใช้ ไม่ถึงร้อยละ 30 โดยอยู่ในอันดับที่ 9 ดังนั้น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและการใช้ชีวิตบนโลกสังคมออนไลน์ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นของวัยรุ่นและเยาวชน เป็นทั้งโอกาสและความเสี่ยงในขณะเดียวกัน “โอกาส” ในที่นี้ คือ การที่วัยรุ่นและเยาวชนสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและช่องทางการติดต่อสื่อสารบนโลกออนไลน์ในการหาความรู้และข้อมูลต่าง ๆ มาเพื่อพัฒนาเพิ่มศักยภาพและทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตและการทำงานในอนาคตได้ แต่ในขณะเดียวกัน ก็มี “ความเสี่ยง” และภัยออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ครอบครัว พ่อแม่ผู้ปกครอง รวมถึง คุณครูอาจารย์ ในสถานศึกษา ต้องใส่ใจเฝ้าระวัง พูดคุย ให้คำแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสมแก่ลูกหลาน นักเรียนนักศึกษาที่เป็นวัยรุ่นและเยาวชนต่อไป

    สถาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลมะรือโบตก จึงได้จัดทำโครงการอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิด Stop Motion ในเยาวชนตำบลมะรือโบตกขึ้น เพื่อให้เยาวชนได้เข้ามาเรียนรู้ภัยจากสื่อออนไลน์ พร้อมกับเรียนรู้การออกแบบสื่อให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  2. เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมบรรยายในหัวข้อ มหันตภัย/ ภัยสื่อออนไลน์ปัญหาสุขภาพของวัยรุ่น /แบ่งกลุ่มถอดบทเรียน ปัญหาการใช้สื่อในวัยรุ่น/ วัยเรียนและสรุปบทเรียนและนำเสนอกลุ่ม การจัดทำสื่อออนไลน์ ชนิด Stop Motion
  2. กิจกรรมอบรมพร้อมปฏิบัติการ การจัดทำสื่อออนไลน์ ชนิด Stop Motion (ต่อ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องภัยจากสื่ออนไลน์และสามารถสร้างสร้างสื่อที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
45.00 80.00

 

2 เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
10.00 0.10

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (2) เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายในหัวข้อ มหันตภัย/ ภัยสื่อออนไลน์ปัญหาสุขภาพของวัยรุ่น /แบ่งกลุ่มถอดบทเรียน ปัญหาการใช้สื่อในวัยรุ่น/ วัยเรียนและสรุปบทเรียนและนำเสนอกลุ่ม การจัดทำสื่อออนไลน์ ชนิด Stop Motion (2) กิจกรรมอบรมพร้อมปฏิบัติการ การจัดทำสื่อออนไลน์ ชนิด Stop Motion (ต่อ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ การอบรมการสร้างสื่อสุขภาพ ชนิดStop Motion เพื่อเยาวชนตำบลมะรือโบตก จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฟัยรุต สะดียามู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด