กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว


“ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายนันทะ ทองเพ็ง ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8291-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8291-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,974.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การที่ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตและพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ซึ่งการส่งเสริมให้ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย มีสุขภาพอนามัยที่ดี ไม่เจ็บป่วยเป็นสิ่งที่ควรให้การสนับสนุนเป็นอย่างยิ่ง พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง การเลือกซื้ออาหารที่สะอาดปลอดภัยและปราศจากสารปนเปื้อนก็ถือได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญ อีกทั้งแหล่งที่มาของอาหารนั้นมาจากตลาดสด ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการซื้อขายสินค้าเพื่อการอุปโภคบริโภค สินค้าส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าประเภทอาหารสด เนื้อสัตว์ ผักผลไม้ ซึ่งอาจจะมีสารปนเปื้อนในกระบวนการผลิตและขนส่ง หากได้รับเกินค่ามาตรฐานอาจส่งผลร้ายต่อร่างกายได้ นอกจากนี้ปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่นิยมรับประทานอาหารในร้านอาหาร ซึ่งผู้ปรุงอาหารนิยมใส่สารต่างๆ เพื่อให้มีรสชาติดีหรืออร่อยขึ้น หรือเพื่อไม่ให้อาหารบูดและเน่าเสีย และการสัมผัสอาหารของผู้ประกอบการก็อาจไม่สะอาดเท่าที่ควร สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งผลร้ายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น การดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยป้องกันให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากการได้รับสารปนเปื้อนน้อยที่สุด นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นยาหรือเครื่องสำอางที่ผสมสารอันตราย ก็ยังเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องเฝ้าระวัง เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพตามมา จากการลงพื้นที่ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาวทั้ง ๕ ชุมชน จำนวน ๓๓๐ ราย พบว่ามีสารเคมีตกค้างในเลือดเกินค่ามาตรฐาน จำนวน ๒๒๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๔๔ (ข้อมูลจากโรงพยาบาลย่านตาขาว ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๖) และจากการลงพื้นที่เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจสารปนเปื้อน จำนวน ๑๕๑ ตัวอย่าง พบสารปนเปื้อนจำนวน ๔๗ ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๑๓ โดยพบสารฟอร์มาลีนจำนวน ๑ ตัวอย่าง สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ จำนวน ๓๓ ตัวอย่าง โคลิฟอร์มแบคทีเรียบนมือจำนวน ๔ ตัวอย่าง    โคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร จำนวน ๕ ตัวอย่าง และสารเร่งเนื้อแดงจำนวน ๔ ตัวอย่าง ซึ่งจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลย่านตาขาว เล็งเห็นถึงความสำคัญและความปลอดภัยของผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร สารอันตรายในผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตลอดจนสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ผู้ผู้จำหน่ายสินค้าและผู้บริโภค และสร้างแกนนำในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน อันจะนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  2. ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหาร
  3. อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  4. แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์
  5. เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
  6. เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพตำบล จำนวน 10 คน
  2. กิจกรรมลงพื้นที่เก็บตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อตรวจสารปนเปื้อน อย่างน้อย 100 ตัวอย่าง
  3. กิจกรรมรายงานผลการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารแก่ผู้ประกอบการและหน่วยงานที่รับผิชอบทราบ เพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
  4. กิจกรรมอบรมอาสาสมัครแกนนำนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลย่านตาขาว
  5. กิจกรรมอบรมผู้สัมผัสอาหารืเรื่องสุขาภิบาลอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยและผู้ที่สัมผัสอาหารดำเนินกิจการตามมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ส่งผลให้ประชาชนได้รับประทานอาหารที่สะอาดและมีคุณภาพ ๒. ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลย่านตาขาวได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหารมากขึ้น สามารถลดปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ฝ่าฝืนกฎหมายและเรื่องร้องเรียนด้านอาหารในพื้นที่ ๓. สร้างแกนนำและเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคที่เข้มแข็งในชุมชน เพื่อเฝ้าระวังและแจ้งเตือนให้ประชาชนรับทราบข้อมูลงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว ๔. ดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและงานคุ้มครองผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง มีศูนย์แจ้งเตือนภัยและระบบแจ้งเตือนภัยที่ดี สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ไม่พบสารปนเปื้อนร้อยละ ๖๐ ของจำนวนตัวอย่างที่ตรวจ

 

2 ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : ผู้สัมผัสอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๐

 

3 อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ หลังผ่านการอบรมเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐

 

4 แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์ ร้อยละ ๕๐

 

5 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
31.12

 

6 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
68.79

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (2) ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหาร (3) อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (4) แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์ (5) เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (6) เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพตำบล จำนวน 10 คน (2) กิจกรรมลงพื้นที่เก็บตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อตรวจสารปนเปื้อน อย่างน้อย 100 ตัวอย่าง (3) กิจกรรมรายงานผลการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารแก่ผู้ประกอบการและหน่วยงานที่รับผิชอบทราบ เพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป (4) กิจกรรมอบรมอาสาสมัครแกนนำนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลย่านตาขาว (5) กิจกรรมอบรมผู้สัมผัสอาหารืเรื่องสุขาภิบาลอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8291-1-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนันทะ ทองเพ็ง ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด