กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567 ”




หัวหน้าโครงการ
นางวินลยา ลายเพชร




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ L3308-67-03-01 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L3308-67-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเด็กในวัยก่อนเรียนและในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง ทั้งนี้เนื่องจากเด็กได้บริโภคอาหารพืชผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆได้ ส่งผลกระทบต่อเด็กทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมซึ่งเป็นการบั่นทอนทรัพยากรมนุษย์ระยะยาว แนวทางการป้องกันและแก้ไข้ปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่กระตุ้นให้เด็กเยาวชน และประชาชนเห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพสามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ปลอดภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด เห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ได้จัดกระบวนการเรียนรู้โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด จึงจัดทำกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารกลางวัน ส่วนผลผลิตที่เหลือนำมาขายให้กับผู้ปกครองในชุมชน จากการสังเกตเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัด นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผักร้อยละ34.48อาจเนื่องมาจาก ผักมีรสชาติที่ไม่อร่อย และมีนักเรียนมีภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 20 รวม ไปถึงนักเรียนที่ไม่รับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียน ร้อยละ 54.48 สำหรับคนที่ทานอาหารเช้าก็ทานอาหารที่ไม่ค่อยเหมาะสมต่อการนำสารอาหารไปใช้ในแต่ละวัน และอาหารกลางวันที่ไม่ค่อยจะมีผักเป็นส่วนประกอบมากเท่าที่ควร ทำให้นักเรียนไม่ค่อยชอบการรับประทานอาหารจำพวกผัก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี
  2. เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี
  3. เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
  4. เด็กชอบกินผักมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการในเด็กปฐมวัย
  2. ผู้ปกครองลงมือปฏิบัติการทำโรงเรือนปฐมวัย
  3. การนำผักมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู 6

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เด็กมีภาวะโภชนาการ น้ำหนัก ส่วนสูง เหมาะสม ตามวัย
  • จำนวนเด็กที่ชอบทานผักเพิ่มขึ้น
  • เด็กรู้วิธีการทำงานร่วมกัน
  • ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ลงมือปฏิบัติในการปลูกผัก และเพาะเห็ด

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะครูร่วมกันปรึกษาหารือ เรื่อง การจัดเตรียมสถานที่ในการปลูกผัก พันธ์ผักที่จะปลูก และเห็ดที่จะนำมาเพาะ 2.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำแปลงผัก และเพาะเห็ด 3.ครูและเด็กลงมือทำแปลงผัก  เตรียมชั้นวางก้อนเห็ด 4.ลงมือปลูกผักชนิดต่างๆ ตามที่ได้ปรึกษาหารือกันไว้  พร้อมทั้งนำก้อนเห็ดไปวางที่ชั้นที่จัดเตรียมเอาไว้ 5.ช่วยกันดูแล รดน้ำ พรวนดิน จนถึงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 5.นำผลิตมาประกอบอาหารกลางวันให้เด็กได้รับประทาน และนำมาแปรรูปเป็นอาหารว่างทานเล่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู จำนวน 6 คน   - ร้อย 100 ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม เด็กนักเรียน จำนวน 58 คน
- ร้อยละ 80 ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และมีความสุขกับสิ่งที่ทำ - ร้อยละ 70 รู้จักการทำงานร่วมกัน - ร้อยละ 85 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

 

0 0

2. การนำผักมาแปรรูปเป็นอาหารว่างให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ครูแนะนำผักต่างๆ และอุปกรณ์ในการนำผักมาแปรรูป 2.ครูอธิบายและสาธิตขั้นตอน วิธีการทำอย่างละเอียดให้เด็กฟัง 3.ครูให้เด็กลงมือปฏิบัติจริงในการผสมแป้ง การทอด การชิมรสชาติ 4.ครูส่งเสริมให้เด็กตระหนักถึง ความสำคัญในการกินผัก การนำผักมาแปรรูป รวมถึงประโยชน์ของผัก 5.ครูและเด็กสรุปกิจกรรมร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 49 คน     - ร้อยละ 70  ชอบกินผักมากขึ้น     - ร้อยละ 50 เพิ่มจำนวนเด็กในการกินผัก

 

0 0

3. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการในเด็กปฐมวัย

วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการในเด็กปฐมวัย โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย       วันที่ 31 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2567
ณ หอประชุมเทศบาลตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง 07.30 – 08.00 น.          ลงทะเบียน 08.00 – 08.30 น.          กล่าวเปิด                       โดย ผู้อำนวยการกองการศึกษา / นายกเทศมนตรีตำบลชะรัด 08.30 – 10.00 น.          บรรยาย เรื่อง โภชนาการและการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย                       อายุ 2 – 5 ปี โดย นางนันธิญา เดชอรัญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ  รพ.สต.บ้านชะรัด 10.00 – 10.30 น.          วิธีการดูแลสุขภาพ โภชนาการ และอาหารที่เหมาะกับเด็กในวัยนี้ 10.30 – 10.45 น.          พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 12.30 น.          การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิธีการดูแลสุขภาพ โภชนาการ และอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก อายุ 2 – 5 ปี โดย นางนันธิญา เดชอรัญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.บ้านชะรัด 12.30 น.                ปิดการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเข้าร่วมในการอบรม  จำนวน 58 คน
  - ร้อยละ 56.25  ได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ และการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตในเด็กปฐมวัย   - ร้อยละ 65.62  ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ โภชนาการ และอาหารที่เหมาะสมกับเด็ก อายุ 2 5 ปี   - ร้อยละ 53.12  ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และบุตรหลาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน
5.17 1.72

 

2 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม
8.62 1.72

 

3 เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
8.62 50.00

 

4 เด็กชอบกินผักมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียน ชอบกินผักมากขึ้น
34.48 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู 6

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี (2) เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี (3) เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม (4) เด็กชอบกินผักมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่อง โภชนาการในเด็กปฐมวัย (2) ผู้ปกครองลงมือปฏิบัติการทำโรงเรือนปฐมวัย (3) การนำผักมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลชะรัดปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ L3308-67-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวินลยา ลายเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด