กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 ”

พื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย

หัวหน้าโครงการ
นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ พื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3312-1-06 เลขที่ข้อตกลง 17/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย รหัสโครงการ 67-L3312-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย จากรายงานทางระบาดวิทยา 5 ปีย้อนหลัง พบว่า ปี พ.ศ. 2562 - 2566 มีรายงานอัตราป่วย เท่ากับ 72.43, 35.95, 35.12, 0.00 และ 338.63 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ โดยพบว่าทุกปีไม่มีผู้ป่วยตาย จะเห็นได้ว่าสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง แสดงให้เห็นว่าโรคไข้เลือดออกยังระบาดอยู่ โดยเฉพาะในปี 2566 อัตราป่วยเพิ่มขึ้นเป็น 8.40 เท่า ซึ่งปัญหาดังกล่าวถือว่ามีผลกระทบร้ายแรงต่อสภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชน

จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จะต้องดำเนินการตั้งแต่ก่อนการเกิดโรค เมื่อเกิดโรค และหลังจากเกิดโรคนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยต้องดำเนินการอย่างครอบคลุม ต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และทันเวลา ทั้งในการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย การให้ความรู้แก่ประชาชน การพ่นเคมีเพื่อทำลายยุงลายตัวเต็มวัย การสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการสร้างความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ซึ่งจะทำให้การป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกของเขตพื้นที่ รพ.สต. บ้านท่าควาย สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  2. เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นเตรียมการ
  2. ประชุมแกนนำอสม. และคณะกรรมการทีม SRRT เครือข่ายหมู่บ้านในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จำนวน 50 คน
  3. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมทั้งแจกทรายอะเบท
  4. กิจกรรมประเมินลูกน้ำยุงลายในชุมชน
  5. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและคืนข้อมูลให้กับชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 830
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง และไม่มีการระบาดซ้ำ (Second Generation Case)

  2. ประชาชนเขตพื้นที่รพ.สต. บ้านท่าควาย มีความรู้ ความเข้าใจ และในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

  3. มีความร่วมมือระหว่างเทศบาลตำบล อสม. ประชาชน และหน่วยงานสาธารณสุขในการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : อัตราครัวเรือนมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
90.00 90.00

 

2 เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงของ ค่ามัธยฐานของอัตราป่วยย้อนหลัง 5 ปี
-8.40 20.00

 

3 เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ
ตัวชี้วัด : อัตราหมู่บ้านที่เกิดโรคไข้เลือดออกไม่มีการระบาดซ้ำ (Second Generation Case)
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 830
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 830
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (2) เพื่อลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไม่ให้เกิดการระบาดซ้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ประชุมแกนนำอสม. และคณะกรรมการทีม SRRT เครือข่ายหมู่บ้านในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จำนวน 50 คน (3) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมทั้งแจกทรายอะเบท (4) กิจกรรมประเมินลูกน้ำยุงลายในชุมชน (5) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและคืนข้อมูลให้กับชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3312-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด