กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี 2567 ”

หมู่ที่ 3,4 และ 7 ตำบลคลองขุด

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุปผา พนมคุณ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี 2567

ที่อยู่ หมู่ที่ 3,4 และ 7 ตำบลคลองขุด จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-67-1-3 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3,4 และ 7 ตำบลคลองขุด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3,4 และ 7 ตำบลคลองขุด รหัสโครงการ L5300-67-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนที่มีสุขภาพดีเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคคลและชุมชนจึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ของการพัฒนาประเทศ และสุขภาวะทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญาจึงบูรณาการอยู่ในการพัฒนามนุษย์และสังคมทั้งหมด ซึ่งต้องสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันทั้งมวลเป็นองค์รวมอย่างสมดุล การเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมือง ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งภายในประเทศ ภายนอกประเทศ และระหว่างประเทศ รวมถึงมีลักษณะที่แปรผันไปตามบริบทของแต่ละพื้นที่ การกระจายความรับผิดชอบในการพัฒนาสู่ระดับท้องถิ่นและชุมชน จึงจำเป็นต้องเร่งรัดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม มีระบบ และมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และชุมชน โดยให้สามารถสนองตอบต่อปัญหาและความจำเป็นที่แท้จริงของประชากรและชุมชนและคำนึงถึงปัจจัยดำรงความยั่งยืนของการพัฒนาและการพึ่งตนเองของบุคคลและชุมชนด้วย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) ที่มีหน้าที่ริเริ่ม ผลักดัน กระตุ้น สนับสนุน และร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในสังคม ในการขับเคลื่อนกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้คนไทยมีสุขภาพดีครบ 4 ด้าน กาย จิต ปัญญา สังคม และร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ โดยมีพันธกิจในการจุดประกาย กระตุ้น สาน และเสริมพลังบุคคล และองค์กรทุกภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถและสร้างสรรค์ระบบสังคมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะการพัฒนาแนวทางการสร้างเสริมสุขภาวะบุคคลและชุมชนเพื่อลดผลกระทบและปัจจัยกำหนดสุขภาพที่สำคัญจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยน (ปฏิรูป) เชื่อมโยงอย่างบูรณาการ และร่วมมือร่วมใจกันหลายภาคส่วน บนฐานทุนมนุษย์ ทุนทางสังคม การเรียนรู้ร่วมกัน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน สอดคล้องกับหลักการเชิงวิชาการ และสอดคล้องกับกลไกการพัฒนาที่รัฐบาลได้จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นที่ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชน เกิดการบูรณาการเป้าหมาย ทิศทางและยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนอย่างเป็นองค์รวม เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยมีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นเจ้าของและภาวะการนำร่วมกัน โดยบูรณาการและประสานความร่วมมือ นำไปสู่การสร้างเสริมให้บุคคล ครอบครัว และชุมชน มีสุขภาวะทางกาย จิต และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและเกิดความยั่งยืน
การพัฒนาชุมชนสุขภาวะและโรงเรียนสุขภาวะ ในประเด็นโรคไม่ติดต่อ บุหรี่ สุรา ยาเสพติด พฤติกรรมการบริโภค และการออกกำลังกาย โดยดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ ๓,๔,๗ ตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล คือ การทำงานใช้กลไกการมีส่วนร่วมของ พชอ. เป็นแนวทางที่นำไปสู่การบูรณาการการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายที่ทำงานในระบบ รวมถึงการประสานงานในส่วนของภาคีเครือข่ายที่มีอยู่ในพื้นที่ตำบลคลองขุด เพื่อประสานความร่วมมือในการออกแบบ การดำเนินกิจกรรม และการระดมทรัพยากรการดำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดย “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี2567” เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญต่อความสำเร็จของโครงการข้างต้นที่มีบทบาทในการช่วยป้องกันและส่งเสริมสุขภาวะในตำบลคลองขุดในประเด็น บุหรี่ สุรา และยาเสพติด
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด(สาขา) อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงได้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด และช่วยกันสร้างกระแสสังคมให้เกิดการรับรู้ เกิดความตื่นตัว และสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้เกิดขึ้นในชุมชน และโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน
  2. เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
  3. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1.ประชาชน หมู่ 3,4,7 ตำบลคลองขุด มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด
2.ประชาชนใน หมู่ 3,4,7 ตำบลคลองขุด มีพฤติกรรมที่ดีขึ้นในประเด็น บุหรี่ สุรา และยาเสพติด
ผลลัพธ์ ประชาชน หมู่ 3,4,7 ตำบลคลองขุด มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด และช่วยกันสร้างกระแสสังคมให้เกิดการรับรู้ เกิดความตื่นตัว และสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้เกิดขึ้นในชุมชน และโรงเรียน เกิดบุคคลต้นแบบในการลด ละเลิก บุหรี่ สุราและยาเสพติด เพิ่มขึ้นในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
34.21 33.18

 

2 เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
46.27 45.14

 

3 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
12.15 11.84

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปี ในชุมชน (2) เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน (3) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ  และตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกัน ลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ยาเสพติด ตำบลคลองขุด ปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-67-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวบุปผา พนมคุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด